DSpace Repository

การศึกษาผลของการปรับปรุงมาตรฐานประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศที่มีผลต่อการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์

Show simple item record

dc.contributor.author ภาวิณี ศักดิ์สุนทรศิริ
dc.contributor.author สุนิมิต กันทาผาน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:17Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:17Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1121
dc.description.abstract เครื่องปรับอากาศนับเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีบทบาทสำคัญ และความต้องการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทำให้เกิดความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างมาก ก่อให้เกิดภาระแก่ประเทศที่ต้องผลิตไฟฟ้ามากขึ้น และส่งผลต่อการปล่อย CO จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟ้า ต่อมาโครงการจัดการด้านความต้องการใช้ไฟฟ้า (Demand Side Management: DSM) โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจึงเพิ่มมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องปรับอากาศตามโครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 และยังมีการปรับเพิ่มมาตรฐานประสิทธิภาพของสำนักมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ) ให้สูงขึ้นอีกด้วย ทำให้ในด้านของผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศต้องทำการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศให้เป็นไปตามมาตรฐานด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ที่อาจกระทบต่อการเพิ่มการใช้วัตถุดิบ และพลังงานในกระบวนการต้นน้ำ ในการศึกษานี้จึงจะทำการประเมินผลการปล่อย CO ตลอดวัฏจักรชีวิตตามวิธีการใน ISO 14044 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ การได้มาซึ่งวัตถุดิบ, การผลิต, การขนส่ง, การใช้งาน และการทำลายซาก ของเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนขนาด 1 ตันความเย็น ที่มีอายุการใช้งาน 10 ปี เปรียบเทียบผลจากการเพิ่ม EER 3 รุ่น ที่มีการผลิตในปี ค.ศ. 2008, 2010 และ 2012 โดยวิธีการประเมินร่วมระหว่างวิธีการวิเคราะห์เส้นทางกระบวนการ (Process Chains Analysis) และวิธีการแบบจำลองปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Out Analysis) โดยจะประเมนตั้งแต่ขั้นตอนของการได้มาซึ่งวัตถุดิบ, การผลิต, การขนส่ง, การใช้งาน และ การทำลายซาก ซึ่งผลจากการประเมินพบว่าการเพิ่ม EER ขึ้นจะทำให้การปล่อย CO ลดลง แต่อย่างไรก็ตามผู้ผลิตควรใช้เทคโนโลยีในการช่วยลดการใช้วัตถุดิบและทรัพยากรต้นทางร่วมด้วย จะส่งผลให้ลดการปล่อย CO ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ๕ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ th_TH
dc.subject เครื่องปรับอากาศ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การศึกษาผลของการปรับปรุงมาตรฐานประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศที่มีผลต่อการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ th_TH
dc.type Research
dc.year 2556
dc.description.abstractalternative Demand in Air-Conditioner (A/C) product is increasing annually, consequently yields higher electricity consumption in Thailand, and being a major driving force in higher carbondioxide (CO) emission from the power sector. While a standard of the valuntary A/C EER lebel under the country DSM bt EGAT has been increased, a compulsory A/C EER by TISI has also increased. For this reasons, the A/C manufacturers in Thailand have to improve their products according to the new No.5 label standard of the compact A/C. Therefore improvement of equipments, materials, or refrigeration systems has to be performed resulting in more energy and materials required in their upstream links. In order to ensure the country's energy saving and CO emission reduction, full-energy-chain energy saving and CO reduction from the life cycle of these A/C should be evaluated. This study assessed a new model of 1-TR split-type A/C produced according to the new EER on year 2012 comparing with the last model that produced on 2010 and 2008 by 5 stage of life cycle as material acquisition, production, transportation, usage and disposal with 10 years life time of A/C according to ISO 14044, A hybrid of process chain analysis (PCA) and input-output analysis (IOA) has been used in this study. The PCA was performed in the production process. IOA was used to provide energy and CO intensities on these upper links in order to extend the boundary layer to all upstream link of each economic sector. The result of this study presents that increasing EER could be reduce LCA-CO emission. Additionally, the manufactures should apply new technologies to reduce the usages of raw materials and resources so that the CO emission could be reduce effectively. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account