DSpace Repository

สภาพทรัพยากรประการังบริเวณชายฝั่งตะวันออก (Satatus of coral resouces along the East Coast of Thailand)

Show simple item record

dc.contributor.author วิภูษิต มัณฑะจิตร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:14Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:14Z
dc.date.issued 2537
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1071
dc.description.abstract การศึกษาโครงสร้างและสภาพของแนวปะการังรวมทั้งโครงสร้างสังคมของปลาที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังของจังหวัดชลบุรี และระยอง ในระหว่างปี พ.ศ. 2534-2535 โดยการแบ่งพื้นที่การศึกษาออกเป็น 6 บริเวณ ได้แก่ หมู่เกาะสีชัง หมู่เกาะล้าน หมู่เกาะไผ่ หมู่เกาะแสมสาร หมู่เกาะเสม็ด และเกาะมัน การศึกษาโครงสร้างและสภาพของแนวปะการังใช้วิธี Lifeform Line Intercept ส่วนโครงสร้างของสังคมปลาใช้วิธี Visaul Fish Census ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโครงสร้างของแนวปะการังบริเวณที่ทำการศึกษาทั้งหมด จัดเป็นแนวปะการังที่พัฒนาอยู่ใกล้ชายฝั่งทะเล เพราะมีระดับการพัฒนาไม่สูงนัก แต่มีแนวโน้มแสดงให้เห็นว่า แนวปะการังที่อยู่ห่างจากฝั่งจะมีการพัฒนาไม่สูงนัก แต่มีแนวโน้มแสดงให้เห็นว่า แนวปะการังที่อยู่ห่างจากฝั่งจะมีการพัฒนาที่ดีกว่าแนวปะการังที่อยู่ใกล้ อันแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลต่าง ๆ จากชายฝั่งไม่เท่ากัน สำหรับความแตกต่างของการพัฒนาในหมู่เกาะเดียวกันจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลงมรสุม สำหรับการประเมินสภาพของแนวปะการังได้เสนอหลักเกณฑ์การพิจารณาขึ้นมาใหม่ โดยกำหนดให้อยู่ในรูปแบบของดัชนี ได้แก่ ดัชนีชี้ระดับการพัฒนา (DI) ดัชนีชี้สภาพ (CI) และดัชนีชี้ระดับการเปลี่ยนแปลง (SI) การใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสภาพของแนวปะการังใน 4 หมู่เกาะ พบว่าแนวปะการังบริเวณหมู่เกาะล้านยังมาสภาพดีอยู่ หมู่เกาะไผ่มีทั้งดีและเสื่อมโทรม ส่วนหมู่เกาะแสมสาร และหมู่เกาะเสม็ดมีสภาพปานกลางจนถึงเสื่อมโทรม ได้วิจารณ์ถึงสาเหตุจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อสภาพของแนวปะการังในแต่ละบริเวณไว้ด้วย โครงสร้างของสังคมปลาในแนวปะการังบริเวณนี้แสดงให้เห็นถึงระดับการพัฒนาที่ไม่สูงมากนัก ชนิดหรือกลุ่มปลาที่เป็นลักษณะเด่นของบริเวณนี้จะเป็นปลาขนาดเล็กทั้งสิ้น โดยกลุ่มปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมี Cephalopholis pachycen-tron เป็นตัวแทนปลาที่ใช้เป็นดัชนีชี้สภาพแนวปะการังมี Chaetodon octofascistus เป็นตัวแทน ในขณะที่กลุ่มปลาครอบครัวเด่น มีปลาในครอบครัว Pomacentridae, Labridae, Apogonidae และ Pempheridae เป็นตัวแทน ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพของแนวปะการังและปลาที่อาศัยอยู่ไม่แสดงความสัมพันธ์กันในทางสถิติ อย่างไรก็ตามโครงสร้างของสังคมปลาในหมู่เกาะเดียวกันจะมีความสัมพันธ์กันในทางสถิติ อย่างไรก็ตามโครงสร้างของสังคมปลาในหมู่เกาะเดียวกันจะมีความคล้ายคลึงกัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของสถานที่ตั้งที่มีต่ออิทธิพลต่อการพัฒนาของสังคมปลาเช่นเดียวกับที่มีผลต่อการพัฒนาของแนวปะการัง ข้อมูลจากการศึกษาทั้งหมดในครั้งนี้ได้ถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยใช้คำสั้งชุดมาตรฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เป็นฐานข้อมูลสำหรับการจัดตั้งฐานข้อมูลของทรัพยากรปะการังในภาคตะวันออก th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินของรัฐบาลไทย ประจำปี พ.ศ. 2535 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก th_TH
dc.subject ปะการัง th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title สภาพทรัพยากรประการังบริเวณชายฝั่งตะวันออก (Satatus of coral resouces along the East Coast of Thailand) th_TH
dc.title.alternative Satatus of coral resouces along the East Coast of Thailand en
dc.type Research th_TH
dc.year 2537
dc.description.abstractalternative Structure and condition of coral reef with community structure of associated reef fishes in Chonburi and Rayong Provinces were studied during 1991-1992. Study areas were separated due to locality into six island groups. They are ; Sichang, Lan, Phai, Samaesan, Samet and Mun Islands. Stucture and condition of coral reef were investigated by using “Life Form Line Intercept Technique” while community structure of reef fishes was carried out by using “Visual fish Census Technique” Results on reef structure indicated that coral reefs in Chonburi and Rayang Provices can be classified as near shore coral reefs. Because the level of coral reef development in this area is not so high. However, there is some trend show that reef denelopment is better when the distance of island from land is increasing. This result may indicate the different degree of influence from land on coral reef in this area. there is also the influence of monsoon on the development of coral reef within each island. For condition of coral reefs, this study proposed a new criteria to justified the condition of coral reef. This criteria to justified the condition of coral reef. This criteria is based is based on three new proposed indices ; Development Index-DI, Condition Index-CI and Succession Index-SI. Based on this criterion, coral reefs of four island groups were evaluated, Most of the reef within the Lan Island were good, the Phai Island were good and poor while at the Samaesan and Samet were moderate to poor. The influence of human activity on condition of coral reef within each island group were discussed. For coral reef fishes, community structure was not so complex which it may indicate low level of development. Fish communities in this area were characterized by only small species. When considered for each group; Cephalopholis pachycentron represented Target species, Chaetodon octofasciatus represented Indicator species and Pomacentridae, Labridae, Apogonidae and Pempheridae represented Major families. Although this study cannot show any significant statistical correlation between reef condition and reef fishes. But there is some trend show the similarity of community structure within each island group. It may indicate the influence of geographical position on community development as in the case of coral reef structure, All of the data obtained from this study was systematically kept by standard computer software which it can be used as base-line information for setting up database of coral resources in this area. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account