DSpace Repository

การสร้างลวดลายต้นแบบจากอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรี เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบลวดลายบรรจุภัณฑ์

Show simple item record

dc.contributor.author สุพิศ เสียงก้อง
dc.date.accessioned 2023-10-19T06:27:30Z
dc.date.available 2023-10-19T06:27:30Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10272
dc.description.abstract โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวมอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรี ที่มีศักยภาพ เหมาะสมนำไปออกแบบเป็นลวดลายต้นแบบ แล้วจึงนำลวดลายต้นแบบไปสร้างลวดลายบนบรรจุภัณฑ์สินค้าชุมชนเมืองชลบุรี เพื่อสร้างจุดจดจำ ความสวยงามให้กับผลิตภัณฑ์ ส่งผลต่อการจำหน่ายและเศรษฐกิจที่ดีของท้องถิ่น โดยอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรีที่ได้คัดเลือกมามีจำนวน 16 อัตลักษณ์ ได้ลวดลายต้นแบบจำนวน 16 แบบ จากพื้นที่ในเขตอำเภอเมืองที่จัดแบ่งออกเป็น 3 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่แหล่งท่องเที่ยวชายทะเลและเนินเขา จำนวน 5 แบบพื้นที่แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นและงานฝีมือ จำนวน 7 แบบและพื้นที่แหล่งประวัติศาสตร์ ศูนย์กลางเมือง และประเพณี จำนวน 4 แบบ จากลวดลายต้นแบบในแต่ละพื้นที่ ได้นำไปสร้างลวดลายลงบนบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ชลบุรี ในเขตอำเภอเมืองทั้ง 3 ผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนของแต่ละพื้นที่ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์แป้งข้าวไรซ์เบอรี่ ตราเติมสุข ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า ตราผ้าทอคุณย่าท่าน และผลิตภัณฑ์สเปรย์สปา ตราเอ็น แอล อาร์ โดยมุ่งเน้นให้เป็นลวดลายที่ใช้เพื่อตกแต่ง เพิ่มความสวยงาม สื่อความหมายถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์ร่วมกับการสื่อสารข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่ปรากฏบนบรรจุภัณฑ์ ส่งเสริมการจำหน่ายและการพัฒนาเศรษฐกิจการท่องเที่ยวเมืองชลบุรี จากการวิจัยพบว่าลวดลายต้นแบบจากอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรีที่ได้นั้นมีความเหมาะสมที่จะนำไปผูกลายในลักษณะลายต่อเนื่องจัดวางเป็นลวดลายบนบรรจุภัณฑ์ได้หลากหลายรูปแบบ นอกจากนั้นยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการสร้างลวดลายบนผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ได้อย่างไม่จำกัด th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภททุนอุดหนุนการวิจัยสร้างสรรค์และวิจัยนวัตกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject บรรจุภัณฑ์ - - การออกแบบ th_TH
dc.title การสร้างลวดลายต้นแบบจากอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเมืองชลบุรี เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบลวดลายบรรจุภัณฑ์ th_TH
dc.title.alternative The creation of embellishment from Mueang Chonburi cultural identity for packaging graphic design th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email supit@go.buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative The objective of the research is to collect cultural identity of Mueang Chonburi. that has suitable potential to be designed as an embellishment Then use the embellishment to create patterns on the packaging graphic design in Mueang Chonburi. To create a memory beauty to the product Affecting sales and good local economy. The cultural identity of Mueang Chonburi that has been selected to create an embellishment has 16 identities and has 16embellishment. From the area in the Mueang district that is divided into 3 areas, namely, 5 types of beach and hillside tourist areas, 7 types of local wisdom and handicraft areas, and historic sites. 4 types of city centers and traditions. From the pattern in each area has been used to create patterns on the packaging OTOP products, Chonburi in Mueang District, 3 products that represent each area. Including Termsuk riceberry flour plus, products from Khunyatan brand and NLR spray spa. By focusing on the patterns used to decorate add beauty Refers to the source of the product. together with the communication of product information that appears on the packaging Promote sales and economic development including tourism to Mueang Chonburi. From research, it was found that the resultingembellishment from the cultural identity of Chonburi city is suitable for tying the pattern in a continuous pattern and placing it as a graphic on the packaging in a variety of ways. It can also be applied to create graphic on other products unlimitedly. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account