DSpace Repository

จากนามธรรมสู่รูปธรรม : การวิเคราะห์โครงสร้างภาพสัญญะในงานโฆษณาท่องเที่ยวไทยเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบสื่อสารลักษณะไทยร่วมสมัย

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุชาติ เถาทอง
dc.contributor.advisor อาวิน อินทรังษี
dc.contributor.author ณัฐพล อ้นอารีย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:57:00Z
dc.date.available 2023-09-18T07:57:00Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10245
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องจากนามธรรมสู่รูปธรรม : การวิเคราะห์โครงสร้างภาพสัญญะในงานโฆษณาท่องเที่ยวไทย มุ่งศึกษาโครงสร้างการใช้ภาพสัญญะในงานโฆษณาท่องเที่ยวไทยเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบสื่อสารลักษณะไทยร่วมสมัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตซ้ำภาพความเป็นไทยในงานโฆษณาการท่องเที่ยวไทย การวิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบและแนวทางการใช้ภาพสัญญะในฐานะตัวแทนความเป็นไทย และทดลองออกแบบผลงานโฆษณาการท่องเที่ยวไทยโดยใช้แนวคิดแคมเปญ “อเมซิ่งไทยแลนด์” ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผลจากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตซ้ำภาพความเป็นไทยมี 2 ส่วน คือ ปัจจัยภายในซึ่งผู้ตัดสินใจหรือผู้มีอำนาจในสังคมย่อยของหน่วยงานที่รับผิดชอบจะเป็นผู้กำหนดทิศทางของการนำเสนอภาพความเป็นไทยในงานโฆษณาและปัจจัยภายนอกซึ่งเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ คือ ต้นทุนการผลิต, สภาพภูมิอากาศรวมถึงทัศนคติด้านการรับรู้ของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีต่อประเทศไทย สำหรับการวิเคราะห์ภาพสัญญะโดยมีรูปความหมายทางตรงและความหมายแฝงในงานโฆษณา ผู้วิจัยได้ใช้โครงสร้างทางวัฒนธรรม 5 ด้านของยูเนสโกเป็นแกนในการแบ่งรูปสัญญะเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการหยิบยกภาพตัวแทนในการนำเสนอความเป็นไทยและนำโครงสร้างดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ร่วมกับโครงสร้างสี่เหลี่ยมสัญศาสตร์ในการสังเคราะห์ภาพสัญญะตัวแทนความเป็นไทยเพื่อค้นหาลักษณะภาพความเป็นไทยร่วมสมัยจากนั้น จึงนำผลการศึกษามาทดลองออกแบบชิ้นงานโฆษณาจำนวน 2 ผลงาน และต่อยอดแนวทางในการนำเสนอผลงานสื่อโฆษณาเพิ่มเติมโดยใช้เทคโนโลยี AR (Augmented Reality) ผ่านอุปกรณ์มือถือ หรือแท็บเล็ตเพื่อให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject โฆษณา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.title จากนามธรรมสู่รูปธรรม : การวิเคราะห์โครงสร้างภาพสัญญะในงานโฆษณาท่องเที่ยวไทยเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบสื่อสารลักษณะไทยร่วมสมัย
dc.title.alternative Form bstrct to substntil: n nlysis of the semeotics structure in thi tourism dvertising s communiction design guideline for contemporry thi
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The research of abstract to the substantial: This structural symbol visualization analysis in Thai tourism advertising aims to study the visual structure of Thai tourism advertisements as a guideline for the communication design in contemporary Thai characters. The objective is to find out what are factors affecting the process of reproducing the Thai images in Thai tourism advertising. This includes analysis and synthesis of patterns and guidelines for the use of symbols as a Thai representative and creates an experiment by designing a Thai tourism advertising works using the campaign concept "Amazing Thailand" created by the Tourism Authority of Thailand. The results of this study showed that there are two factors affecting the reproduction of the Thai images, namely the internal factor, which are the decision-makers or sub-society authorities in the agencies who are responsible to determine the direction in presenting Thai images. While external factors are factors that cannot be controlled such as climate and production costs including the perceived attitude of foreign tourists toward Thailand. In analyzing the straight and hidden symbols in advertising works, the researcher divided the process by using UNESCO's 5 pillars of the cultural structures as a core to divide the symbolism to clarify the representation of Thai identity. Then use the structure in conjunction with the square of semiotic method in the synthesis of the semiotic image which represents Thai identity to find contemporary Thai in visuals. Then the study results were used to experiment with two advertising designs and extending the guidelines for presenting additional advertising media using AR (Augmented Reality) technology via mobile devices or tablets in order to make works more interesting.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account