dc.contributor.advisor |
เนตรดาว ชัยเขต |
|
dc.contributor.author |
สุญภัคจิรา มณีสิริตาภรณ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:53:57Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:53:57Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10128 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การประยุกต์ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมในการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ วิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมร่วมกับการคำนวณมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจในการประเมินผลการดำเนินงาน และวิเคราะห์การกำหนดราคาขายจากข้อมูลการใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมร่วมกับระบบมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจโดยใช้กรณีศึกษาบริษัทแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจากผลิตภัณฑ์ จำนวน 8 ผลิตภัณฑ์ที่มียอดขายลดลงอย่างมีนัยสำคัญเก็บรวมรวบข้อมูลทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิจากการสัมภาษณ์หัวหน้าแผนก จำนวน 8 แผนกและจากงบการเงินและรายงานการผลิตของบริษัทย้อนหลัง 4 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 ถึง ปี พ.ศ. 2561 จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อใช้ในการกำหนดตัวผลักดันต้นทุน และจัดสรรต้นทุนและค่าใช้จ่ายดำเนินงานเข้าสู่ผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีต้นทุนฐานกิจกรรม (ABC) ร่วมกับการคำนวณต้นทุนเงินทุนจากแนวคิดมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ (EVA) และนำข้อมูลต้นทุนดังกล่าวไปใช้ในการวิเคราะห์ราคาขาย ผลการวิจัย พบว่า ต้นทุนการผลิตที่คำนวณด้วยระบบต้นทุนฐานกิจกรรม จำนวน 4 ผลิตภัณฑ์ มีต้นทุนสูงกวก่าต้นทุนเดิม และอีก 4 ผลิตภัณฑ์มีต้นทุนต่ำกว่าต้นทุนเดิม และเมื่อใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมร่วมกับระบบมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ พบว่า กำไรต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ จำนวน 7 ผลิตภัณฑ์ มีกำ ไรลดลงหรือมีกำไรที่ติดลบมากขึ้น มีเพียง 1 ผลิตภัณฑ์ที่กำไรต่อหน่วยสูงขึ้น เมื่อเทียบกับวิธีการคำนวณกำไรแบบเดิม ผลการนำต้นทุนการผลิตจากวิธีต้นทุนฐานกิจกรรมร่วมกับการคำนวณมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจไปวิเคราะห์ในการกำหนดราคาขายโดยวิธี Cost-Based Pricing 10% พบว่า การใช้ต้นทุนเดิมในการกำ หนดราคาขายจะส่งผลให้ราคาขายต่ำไป จำนวน 6 ผลิตภัณฑ์ และราคาขายสูงไป จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะส่งผลให้การตั้งราคาขายไม่บรรลุกำไรตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และอาจส่งผลให้ไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มูลค่าเพิ่ม |
|
dc.subject |
ต้นทุนการผลิต |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว |
|
dc.subject |
เศรษฐศาสตร์ |
|
dc.title |
กลยุทธ์การกำหนดราคาด้วยข้อมูลต้นทุนระบบฐานกิจกรรมร่วมกับการคำนวณมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ |
|
dc.title.alternative |
Product pricing strtegy by using ctivity- bsed costing (bc) nd economic vlue dded (ev) s integrted tool |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The research aimed at analyzing the applications of activity-based costing system in product cost calculation, analyzing the application of the activity-based costing system with economic value added calculation in evaluating the performance result, as well as analyzingsale pricing based on the data from the use of activity-based costing system in conjunction with the economic value added system by using a case study of a company in Rayong province’ The specific samples were selected from the eight products with significantly reduced sales. Both primary and secondary data were collected from the interview from the heads of eight departments and from financial statements and production reports of the companies for the past four years since B.E. 2558 till B.E. 2561. The obtained data was, then, analyzed to determine the cost drivers and allocate operating costs and expenses into the products by using the activity-based costing method (ABC) together with the calculation of the funding costs from the economic value added concept (EVA).and then used the mentioned cost data to analyze sales prices The findings revealed that the production costs calculated by the activity-based costing system of the four products were higher than the traditional costs but the other four products had a lower cost than the traditional cost. When using the activity-based costing system together with the economic value added system, it was found that the profit per unit of the product for the seven products decreased or increased negatively. There was only one product that had a higher unit profit compared to the conventional profit calculation method The results of using production costs from the activity-based costing method together with the economic value added calculations to analyze the sales price determination by using 10% Cost-Based Pricing Method showed that the use of the traditional cost to determine the selling price will result in its being low for the six products, but too high for the two products. This would result in the setting of the selling price not to achieve the profit as set, and may be unable to compete in the market. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
คณะการจัดการและการท่องเที่ยว |
|
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|