กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9964
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ
dc.contributor.authorธโสธร ตู้ทองคำ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:36:20Z
dc.date.available2023-09-18T07:36:20Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9964
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ปัจจัยที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองไทยสมัยนายทักษิณ ชินวัตร ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2549 2. สาระสำคัญของการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองไทยสมัยนายทักษิณ ชินวัตร ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2549 3. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองไทยสมัยนายทักษิณ ชินวัตร ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2549 วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเอกสารจากการนำเสนอผลงานวิจัยในรูปของการพรรณนา วิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองไทยสมัยนายทักษิณ ชินวัตร ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2549 แบ่งเป็นปัจจัยภายนอก คือ การแพร่ขยายของประชาธิปไตยเป็นที่มาของการปฏิรูปการเมืองของประเทศหลายประเทศการแพร่ขยายของแนวคิด เสรีนิยมใหม่และประชานิยม และการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ และปัจจัยภายใน คือ การถือกำเนิดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจใน พ.ศ. 2540 และความเปลี่ยนแปลงทางสังคม 2. สาระสำคัญของการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองไทย สมัยนายทักษิณ ชินวัตร ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2549 มาจากการก่อตั้งพรรคไทยรักไทยที่เป็นกลุ่มทุนขนาดใหญ่ชัยชนะจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นำ มาสู่ความเปลี่ยนแปลงของสภาผู้แทนราษฎรการจัดตั้งรัฐบาลพรรคไทยรักไทยการปฏิรูประบบราชการเพื่อเป็นเครื่องมือของรัฐบาลและความเปลี่ยนแปลงของประชาสังคม 3. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสังคมการ เมืองไทยสมัยนายทักษิณ ชินวัตร ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2549 นำมาสู่การถือกำเนิดของระบอบทักษิณ ที่ส่งผลต่อความเปลี่ยนแปลงของระบบการเมืองไทยผ่านสถาบันและกระบวนการทางการเมืองที่ประกอบด้วย พรรคการเมืองการเลือกตั้งรัฐสภา รัฐบาล ระบบราชการ และประชาสังคม อย่างกว้างขวาง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectการพัฒนาชุมชนเมือง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ
dc.subjectสังคมเมือง
dc.titleการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองไทยสมัยนายทักษิณ ชินวัตร (พ.ศ. 2544-2549)
dc.title.alternativeThilnd politicl society chnge in the er of thksin shinwtr (2001-2006)
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study Thailand political society change in the era of Thaksin Shinawatra (2001-2006)on the following issues 1.Factors leading to Thailand political society change, 2. The essence of Thailand political society change, and 3. The impact of Thailand political society change. The method of this study is documentary research and the presentation of research results is in the form of analysis descriptive. The study found that 1. the factors leading to Thailand political society change during Thaksin Shinawatra era between 2001 and 2006 are divided into 2 factors. The first is external factors that include the spread of democracy leading to political reform, the spread of neoliberalism and populism, and the changes in information technology. The second factor is internal factors that included the birth of the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997, the economic crisis in 1997, and social changes. 2. The essence of Thailand political society change during Thaksin Shinawatra era between 2001 and 2006 came from the establishment of the Thai Rak Thai Party which is a large capital group. Victory from the election of members of parliament leading to the change of the House of Representatives, government establishment from the Thai Rak Thai Party, bureaucratic reform to be a government tool, and the changes of civil society. 3. The impact of Thailand political society change during Thaksin Shinawatra era from 2001 to 2006 led to the advent of the Thaksinocracy which led to changes in the Thai political system through institutions and political institutions and processes which consist of a political party, election, parliament, government, bureaucracy, and civil society.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ
dc.degree.nameรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
55820028.pdf6.76 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น