กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9963
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์
dc.contributor.authorจรัสศรี รูปขำดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:36:20Z
dc.date.available2023-09-18T07:36:20Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9963
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความขัดแย้งทางวาทกรรมระหว่างการแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ในแนวทางวิธีวิทยาทางเศรษฐศาสตร์การเมือง แนวประวัติศาสตร์และการวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์มีลักษณะวิพากษ์ข้อมูลไปสู่กระบวนการวิเคราะห์จากการตีความระหว่างบริบทกรอบการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกควบคู่กับการสังเกตการณ์สัมผัส ผลการวิจัยพบว่า การแพทย์แผนปัจจุบันใช้ปฏิบัติการทางวาทกรรมเพื่อสถาปนาอำนาจนำให้กับฝ่ายตนเอง ในการปฏิรูปการแพทย์วิเคราะห์ได้ 5 องค์ประกอบ คือ 1. สถาปนาตนเองด้วยระบบวิทยาศาสตร์ 2. ใช้สถาบันการศึกษาเป็นตัวกำหนดผู้เชี่ยวชาญ 3. ปฏิรูประบบราชการ 4. การพัฒนาเทคโนโลยีและการแพทย์ 5. การบัญญัติกฎหมายจากองค์ประกอบทั้ง 5 ประการนี้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยทั้งระบบรวมถึง เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคนในสังคมให้เชื่อฟัง “คำสั่ง” ของแพทย์แผนปัจจุบันในการอธิบายปฏิบัติการทางวาท กรรมโดยใช้ “รัฐ” เป็นเครื่องมือในการครอบงำกดทับกีดกันการแพทย์แผนไทยโดยพบว่า ปฏิบัติการทางวาท กรรมมีการตอบโต้ 6 องค์ประกอบ คือ 1. การตอบโต้ด้วยประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย 2. การชำระตำรายา ไทย 3. การสร้างระบบการศึกษา 4. การกำหนดผู้เชี่ยวชาญในระบบราชการ 5. การสร้างนวัตกรรมยาไทย 6. การ บัญญัติกฎหมายองค์ประกอบทั้ง 6 สามารถยึดโยงปฏิบัติการทางวาทกรรมต่อการแพทย์ทางเลือกโดยพบว่า 1. การต่อต้านความเป็นวิทยาศาสตร์ของการแพทย์แผนปัจจุบัน 2. การสร้างองค์ความรู้ผ่านวิธีการรักษาโรคแบบ องค์รวมของการแพทย์ทางเลือก 3. ปฏิบัติการทางวาทกรรมผ่านการสร้างนวัตกรรมทางสุขภาพ 4. ปฏิบัติการทางวาทกรรมในบริบทการใช้นโยบายของรัฐบาลเพื่อสร้างพื้นที่ทางสังคม 5. การสร้างความชอบธรรมผ่าน ปฏิบัติการทางกฎหมายโดยส่งผลต่อการต่อสู้กัน พบว่า มี 3 องค์ประกอบ คือ 1. การต่อสู้ระหว่างการแพทย์แผนปัจจุบันกับการแพทย์แผนไทย 2. การต่อสู้ระหว่างการแพทย์แผนปัจจุบันกับการแพทย์ทางเลือก 3. การต่อสู้ของการแพทย์แผนไทยกับการแพทย์ทางเลือกโดยทั้ง 3 องค์ประกอบส่งผลต่อตลาดยาโดยมีการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมการเมืองผ่านการปฏิรูปการแพทย์ผ่านระบบสุขภาพในระดับการพัฒนาแล้วทางวัฒนธรรม
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ
dc.subjectการแพทย์ทางเลือก
dc.subjectความขัดแย้งระหว่างบุคคล
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectการแพทย์แผนไทย
dc.titleเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยความขัดแย้งทางวาทกรรมของการแพทย์แผนปัจจุบันการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกเกี่ยวกับการปฎิรูปทางการแพทย์
dc.title.alternativePoliticl economy on discourse conflicting over medicl reform of conventionl medicine, trditionl thi medicine, nd lterntive medicine
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine conflicting discourses between conventional, Thai traditional and alternative medicines. It is a qualitative study based on political economy and history by using data criticism. The criticized data was led to analyzing and interpreting processes within contexts, conflicting discourses between conventional, Thai traditional and alternative medicines, analytical framework for in-depth interviews, participatory observation, and operation. The analyzed criticism was then systematized and interpreted according to data from discourses in forms of data criticism. The results of the study revealed that conventional medicine has employed operating discourses in order to be self-upgraded in a medical reform by using five components, including the use of a scientific system, experts in educational institutes, government system, technological development in medicine, and legislation. These five components resulted in changing both the systems in a Thai society and human behavior in a way that people had to comply with the “commands” given by medical doctors and used “state” as an instrument in issuing laws to regulate practice. Also, it was found that conflicting discourses between conventional, Thai traditional and alternative medicines comprised six components. These included fighting back with history of Thai traditional medicine, improving the recipes of Thai traditional medicine, establishing educational systems, assigning experts in a government system, innovation Thai medicine, and writing legislation for Thai traditional medicine. These six components led to discourse practices, resulting in making Thai traditional medicine be part of holistic has depended largely on a scientific process in order to build trustworthiness, reliability, quality, and a medicinal system in a dimension of holistic health care. Finally, it was via research studies that affected a chain of holistic health care, using theories that were contradictory to the actual practice and changing contexts of a society. This changed health care system was found and developed at a cultural level.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ
dc.degree.nameรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
55820014.pdf2.91 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น