กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9953
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพฑูรย์ โพธิสว่าง | |
dc.contributor.author | สุภาพร ชาวสวน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:36:18Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:36:18Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9953 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | ประเทศไทยโดยรัฐบาลทุกรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยได้มีมติคณะรัฐมนตรีและระเบียบ กฎหมายเพื่อสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการจัดการศึกษามาอย่างต่อเนื่องแต่ยังพบปัญหาการจัดการศึกษาแก่ลูกแรงงานต่างชาติหรือ เด็กที่ไม่มีสัญชาติไทยในหลายด้านงานวิจัยเรื่องยุทธ ศาสตร์การจัดการความมั่นคงของมนุษย์กรณี การจัดการศึกษาของเด็กไร้สัญชาติในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษา การจัดการศึกษาเด็กไร้สัญชาติในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทยในปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษาปัญหา และข้อจำกัดในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กไร้สัญชาติในประเทศไทยและ 3. เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการศึกษาที่เหมาะสม ตามสิทธิในการได้รับการศึกษาของเด็กไร้สัญชาติตามปฏิญญาสากล เพื่อพัฒนาความมั่นคงของไทย โดยศึกษาจากประชากร 4 กลุ่มได้แก่ ผู้บริหารจากกระทรวงศึกษาธิการจากสำนักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ภาคตะวันออก และจากผู้อำนวยการและครูในสถานศึกษา เด็กนักเรียนไร้สัญชาติและนักวิชาการที่เกี่ยวกับการศึกษาของเด็กไร้สัญชาติผู้วิจัยได้เลือกพื้นที่เป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาและเก็บข้อมูลในพื้นที่ภาคตะวันออก จำนวน 4 จังหวัดได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยองและจังหวัดจันทบุรี ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยมีกฎหมายและนโยบายด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยปฏิบัติตามปฏิญญาสากลตามหลักมนุษยธรรม แต่ในทางปฏิบัติมีปัญหาทั้งด้านหลักสูตรที่เรียน ร่วมกับเด็กไทยไม่มีหลักสูตรเฉพาะสำหรับเด็กไร้สัญชาติปัญหาด้านการสื่อสารภาษาไทย ด้านทรัพยากร ซึ่งประกอบไปด้วย จำนวนครูและงบประมาณที่ไม่เพียงพอ สื่อการเรียนการสอน และสิ่งอำนวยความสะดวกไม่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ของเด็กและผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ยังไม่เป็นมาตรฐานสากลและบางโรงเรียนใช้การสอบแข่งขันไม่แบ่งสัญชาติในระดับมัธยมศึกษาบางโรงเรียนเป็นเด็กชายขอบเกิดในประเทศไทยแต่ไม่มีบัตรประชาชน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.subject | สิทธิมนุษยชน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชายุทธศาสตร์และความมั่นคง | |
dc.subject | นโยบายการศึกษา -- ไทย (ภาคตะวันออก) | |
dc.title | การศึกษาและวิเคราะห์การนำนโยบายการจัดการศึกษาแก่เด็กไร้สัญชาติไปปฏิบัติในภาคตะวันออกของประเทศไทย | |
dc.title.alternative | Study nd nlysis of eductionl policy implementtion for stteless children in the estern region of thilnd | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Thailand, from every government giving priority to education for human resource development by having a cabinet resolution and regulations laws to create opportunities and equality in continuing education but still encounter problems in education for children of foreign workers or children who are not Thai citizenship in many areas. The research on Study and Analysis Stateless children in Thailand In the case of stateless children in the eastern region. The objectives are 1. To study the management of stateless children in the eastern region of Thailand 2. To study the problems and limitations in the provision of education for stateless children in Thailand and 3. To study the guidelines for the provision of education at appropriate according to the right to education of stateless children under the Universal Declaration to develop Thai security. By studying from 4 population groups, namely executives from the ministry of education from the office of the Basic Education Commission (OBEC) Eastern region and from the director, teachers in the educational institution stateless students and scholars related to the education of stateless children. The researcher selected the target area used in the study and collect data In the Eastern region, consisting of 4 provinces, Chonburi Province Chachoengsao Province, Rayong Province and Chanthaburi Province. The study found that Thailand has laws and basic education policies. By following the Universal Declaration according to human principles but in practice there are problems in both the curriculum studied with Thai children. There are no specific courses for stateless children. Problems in Thai communication regarding to resources which consist of the number of teachers and the budget is insufficient, teaching media and facilities are not suitable for children's learning. The educational achievement that is not yet an international standard and some schools use competitive examinations without nationality at the secondary level and some schools are border boys born in Thailand but do not have an identification card. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ยุทธศาสตร์และความมั่นคง | |
dc.degree.name | รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
55820044.pdf | 7.57 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น