กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9943
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาติ เถาทอง | |
dc.contributor.advisor | อติเทพ แจ้ดนาลาว | |
dc.contributor.author | จิรายุฑ ประเสริฐศรี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:36:15Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:36:15Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9943 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องการออกแบบภาพสื่อทางทัศน์ในพื้นที่จีโอพาร์คโคราชสะท้อนพลวัตภูมิศาสตร์บรรพกาล กรณีศึกษาอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมามีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์บรรพกาลในพื้นที่จีโอพาร์คโคราช เพื่อออกแบบภาพสื่อทางทัศน์ให้กลุ่มตัวอย่างสามารถรับรู้และเข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึ้น การวิจัยครั้งนี้ใช้กระบวนการวิจัยแบบผสมผสาน วิจัยเชิงคุณภาพ วิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงการออกแบบ โดยทำการค้นคว้าแสวงหาข้อมูลภูมิศาสตร์บรรพกาลในพื้นที่จีโอพาร์คโคราช ตลอดจนทำการค้นหาสภาพปัญหาการเรียนภูมิศาสตร์บรรพกาลและพื้นฐานความต้องการของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 170 คน นำมาใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบภาพสื่อทางทัศน์โดยประยุกต์เข้ากับหลักการออกแบบกราฟิกข้อมูลของอัลเบร์โต ไคโรและทำการประเมินผลการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างด้วยกระบวนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดการอนุรักษ์พื้นที่แบบจีโอพาร์คช่วยให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดนครราชสีมาและประเทศไทย ตลอดทั้งเป็นประโยชน์ในการสร้างความรู้ทางธรณีวิทยาให้แก่ประชาชนได้อย่างยั่งยืน และผลการสังเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์บรรพกาลในพื้นที่จีโอพาร์คโคราชร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน พบว่า ภูเขาเควสตาที่ยกตัวสูงขึ้นในบริเวณอำเภอสีคิ้วได้ส่งผลต่อสัณฐานภูมิประเทศเกิดเป็นธารน้ำบรรพกาล ซึ่งพัดพาเศษซากฟอสซิลไหลลงมาสะสมในพื้นที่ลุ่มต่ำที่บริเวณอำเภอเฉลิมพระเกียรติและผลการสังเคราะห์รูปแบบภาพสื่อทางทัศน์ จากความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ตัวการ์ตูนที่ผสมผสานอัตลักษณ์ท้องถิ่นมีผลทำให้กลุ่มตัวอย่างเกิดความสนใจใฝ่เรียนรู้ข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์บรรพกาลได้เป็นอย่างดีและการนำเสนอภาพ สื่อทางทัศน์แบบภาพนิ่งควบคู่กับภาพเคลื่อนไหว ช่วยให้กลุ่มตัวอย่างสามารถจดจำและเข้าใจ เนื้อหาได้ภายในระยะเวลาอันสั้นสอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์เปรียบเทียบคะแนนหลังจากกลุ่มตัวอย่างได้รับชมภาพสื่อทางทัศน์พบว่า คะแนนสอบของกลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | ภูมิศาสตร์บรรพกาล | |
dc.subject | การสื่อทางภาพ | |
dc.title | การออกแบบภาพสื่อทางทัศน์ในพื้นที่จีโอพาร์คโคราชสะท้อนพลวัตภูมิศาสตร์บรรพกาล กรณีศึกษาอำเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครราชสีมา | |
dc.title.alternative | Informtion grphic design of khort geoprk s the reflection of pleogeogrphicl demonstrtion: cse study of chloem phr kit district, nkhon rtchsim | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Research on information graphic design of Khorat Geopark as the reflection of paleogeographical demonstration: a case study of Chaloem Phra Kiat District Nakhon Ratchasima, aims to synthesize paleogeographic data in Geopark area and design information graphic that could be easier to understand for a sample group. The research method was a mixed process of qualitative research, quantitative research and design research. It started from gathering paleogeographic data in Geopark area, Korat; then, observing the difficulty of the study of paleogeographyand basic needs of a sample group of 170 people. The findings were used as information together with the principle of information graphic design of Alberto Cairo to design information graphic. The researcher evaluated the result in acknowledgement of the work from a sample group by One Group Pre-test Post-test Design experimental research process. The result of the research showed that the concept of conservation of Geopark areas was beneficial to tourism in Nakhon Ratchasima and Thailand. The research also resulted in sustainable knowledge of paleogeographyfor general public. After synthesizing paleogeographic data in Geopark area, Korat, together with five experts, it was found that the elevated Cuesta in Sikhio district had affected topography of an area into an antecedent stream which streamed down fossils to accumulate in the lowland area of Chaloem Phra Kiat District. The result also demonstrated the opinion of a sample group on cartoon characters that local identity mixed in their characteristic excellently attracted interest in seeking for more paleogeographic information. In addition, using still images in conjunction with moving images in the presentation helped sample group understand and remember the content within a short time which was reflected in the test scores. After the sample group had seen the information graphic, the achievement average was higher than the previous figure with the statistically significance at the level of .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57810066.pdf | 14.67 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น