กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/993
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เอกรัฐ ศรีสุข | |
dc.contributor.author | รุ่งนภา แซ่เอ็ง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:57Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:57Z | |
dc.date.issued | 2542 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/993 | |
dc.description.abstract | ต้นเพชรสังฒาต (Cissus quadrangularis) เป็นสมุนไพรที่รู้จักกันดีในการรักษาโรคหลายชนิด เช่น ริดสีดวง กระดูกร้าว ในงานวิจัยนี้เราทำการแยกสกัดสารประกอบจากต้นเพชรสังฆาต โดยใช้วิธี percolation ด้วยตัวทำละลายที่มีขั้วต่างกัน และเทคนิคโครมาโตกราฟี ในส่วนสกัดเฮกเซนได้สารบริสุทธิ์เป็นผลึกของแข็งสองชนิด ซึ่งหลังพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคสเปกโครสโคปี พบว่าเป็น lupenone และ B-sitosterol ส่วนสกัดเมธิลลีนคลอไรด์ได้สารประกอบของแข็งที่แตกต่างอีกสองชนิด อาจเป็นอนุพันธ์ของไขมันแต่ยังไม่สามารถพอสูจน์ได้ว่ามีสูตรโครงสรา้งแบบใดที่แน่นอน ส่วนสกัดของเทมธานอลถูกนำไปแยกด้วยเทคนิคโครมาโตกราฟี และทดสอลฤทธิ์การยับยั้งการผลิต nitric oxide ในเซลล์แมคโครฟาจที่เติม LPS (lipopolisaccharide) เพราะการมีชีวิตรอดของเซลล์พบว่าสาร fraction ที่ 4 สามารถยั้บยั้งการผลิต nitric oxide ได้สูงที่สุดถึงร้อยละ 54 จากชุดควบคุมที่ใส่ LPS | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2542 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สมุนไพร - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | เพชรสังฆาต (พืช) - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การศึกษาสารประกอบของต้นเพชรสังฆาต | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2542 | |
dc.description.abstractalternative | Cissus quadrangularis is a well-known harb for treatment of many diseases such as hemorrhoid and fractured bone, In this repoet we have isolated constituents from the stem of this plant by percolation method with four polarity deiierent solvents and various chromatographic methods. The curomatography of hexane extract led to the isolation of two known compounds in pure solid form. After elucidated by spectroscopic methods. the compounds were identified as lupenone and B-sitosterol. Other two soild compounds were also obtained from methylene chloride extract. Both would be lipid derivatives which were unable to be identified their complete structures. Methanol extract was fractionated by column chromatographic technique and then all ftactions were tested the inhibition of nitric oxide production in LPS-stimulated macrophage cells and the cell viability. The fraction 4 showed maximal inhibitory effect on nitric oxide production to 54% of LPS control. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น