กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/98
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุชาติ เถาทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/98
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์การเกาะสลักหินของท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนล่าง (STUDIES ON THE DEVELOPMENT OF THE PATTERN OF ROCK CARVING ON THE LOWER EASTERN REGION) เป็นการวิจัยผสมผสานระเบียนวิธีวิจัย (Combined Research) มีการศึกษาจากการสำรวจภาคสนาม เอกสารทางประวัติศาสตร์ และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องให้ทราบถึง งานเกาะสลักหินของท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนล่าง มีจุดเริ่มต้นโดยชาวจีนที่แหลมแท่น ตำบลแสนสุข (หนองมนเดิม) จังหวัดชลบุรี ในตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นได้แพร่หลายไปที่ตำบลอ่างศิลา ตำบลเสม็ด ตำบลหนองรี ตำบลบ้านสวน และตำบลบ้านบึงตามลำดับงานเกาะสลักหินระยะแรกเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับใช้สอยในครัวเรือน และประกอบพิธีทางความเชื่อของชาวจีนเดิม ได้แก่ โม่ และ ป้ายฮวงซุ้ย ต่อมาจึงพัฒนารูปแบบงานเกาะสลัก เป็นครก ลูกนิมิต ใบเสมา ตามแบบวิธีไทย อีกทั้งรูปแบบทำขึ้นส่วนใหญ่ ได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทางกรรมวิธี และกลวิธี ช่างส่วนมากจะกระทำตามๆกันด้วยรูปแบบคล้ายๆกันการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์การแกะสลักหินควรมีวิธีดำเนินการเป็น 2 แนว คือ ประการแรก อนุรักษ์ สืบสานรูปแบบดั้งเดิม ประการที่สอง ถ่ายทอดและพัฒนารูปแบบใหม่ โดยอาศัยวิธีการวิจัยและพัฒนา เข้ามาช่วยให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อนำไปสู่การพัฒนาจริงได้ กับทั้งขจัดปัญหาและอุปสรรค์ที่มีผลต่อการพัฒนารูปแบบ ได้แก่ การออกแบบ วัสดุช่าง เครื่องมืออุปกรณ์ รวมถึงการวิจัยแบบเฉพาะทางเป็นอาทิ ให้ปัจจัยข้างต้นมีส่วนสนับสนุน เกื้อกุล การพัฒนารูปแบบให้เจริญก้าวหน้า ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและยุคโลกาภิวัฒน์ ทั้งนี้ผลสำเร็จจะเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใด ไม่ได้อยู่ที่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง แต่ขึ้นอยู่กับทุกปัจจัยที่บูรณาการเข้ามาด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการแกะสลักหิน - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัยth_TH
dc.subjectประติมากรรมหิน - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาปรัชญาth_TH
dc.titleการศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์การแกะสลักหินของท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนล่างth_TH
dc.title.alternativeStudies on the development of the pattern of rocl carving on the Lower Eastern Regionen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThis was a combined research conjoining of field trip study , documentary study and interview the investigate the local rock carving in the eastern region . It was found that the original location was the Chinese community settling at Laem Tan , Saen Suk Sub -district (former Nong Mon), Chonburi Province around the end of the reign of King Rama the Fifth. Then, the carving was respectively extended extended to Ang -Sila , Samed , Nong Ree , Ban Bung , Sub -districts.Prior rock carving was intentionally for kitchenware and Chinese-believed subjects such as millstone and memorial name post in front of tombs. Then the forms of carving were changed to be mortar , and other Buddhism ritual objects; Moreover , almost of the forms and styles were derived from their ancestors without changing in the detail and process.In conclusion , rock carving product should be improved in two streams ; conservative and renovate using research and development approaches to make to these two streams practical. In addition , the obstacles, affecting product modernization such as design . material. Equipment and specific study would also be eliminated by those approaches. After applying those approaches into the production process , the product's form should be compatible with the changing world and globalization. Nevertheless, how effective the outcome derived from all merged.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น