กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9839
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรัชญา แก้วแก่น | |
dc.contributor.advisor | กนก พานทอง | |
dc.contributor.advisor | ภัทราวดี มากมี | |
dc.contributor.author | อิทธิพัทธ์ โยธะพันธ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:20:02Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:20:02Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9839 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์สำหรับการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและพัฒนาความจำทางการอ่านในนิสิตระดับปริญญาตรี และศึกษาผลการใช้โปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์ในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและการพัฒนาความจำทางการอ่าน กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพาชั้นปีที่ 3 จำนวน 60 คน เครื่องมือวิจัยได้แก่ 1) เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์ 2) เครื่องมือใช้วัดตัวแปรตาม ได้แก่ โปรแกรมทดสอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและโปรแกรมทดสอบวัดความจำขณะทำงาน 2and3-back task สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรีวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test และ ANOVA ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. การพัฒนาโปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์เพื่อใช้เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ สำหรับการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและพัฒนาความจำทางการอ่านในนิสิตระดับปริญญาตรีมีความเหมาะสมและใช้ได้จริงในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและพัฒนาความจำทางการอ่านในนิสิตระดับปริญญาตรี 2. การพัฒนาแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและพัฒนาแบบวัดความจำขณะทำงาน 2and3-back task มีความเหมาะสมและใช้ได้จริงในการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและประเมินการพัฒนาความจำในนิสิตระดับปริญญาตรี 3. คะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านของกลุ่มทดลองที่ใช้โปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์ มากกว่าคะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านของกลุ่มทดลองที่ใช้โปรแกรมอีเลิร์นนิ่งและมากกว่าคะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านของกลุ่มทดลองที่อ่านด้วยหนังสือ โดยคะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านมากกว่าและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 4. คะแนนการประเมินความจำทางการอ่านของกลุ่มทดลองที่ใช้โปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์ มากกว่าคะแนนการประเมินความจำทางการอ่านของกลุ่มทดลองที่ใช้โปรแกรมอีเลิร์นนิ่งและมากกว่าคะแนนการประเมินความจำทางการอ่านของกลุ่มทดลองที่อ่านด้วยหนังสือ โดยคะแนนการประเมินความจำทางการอ่านมากกว่าและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 สรุปได้ว่า โปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์ที่พัฒนาขึ้นในการวิจัยนี้ มีความเหมาะสมและสามารถใช้ในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและพัฒนาความจำทางการอ่านในนิสิตระดับปริญญาตรีได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.subject | ความเข้าใจในการอ่าน | |
dc.subject | การอ่าน | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.title | การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยโปรแกรมเอเอสคิวทรีอาร์สำหรับการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและพัฒนาความจำในนิสิตระดับปริญญาตรี | |
dc.title.alternative | Development innovtive lerning with sq3rs progrm for enhncing reding chievement nd improve memory in undergrdute students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to develop the ASQ3Rs program for enhancing reading achievement and reading memory in undergraduate students, and then 2) to study the effect of this program. The sample included 60 third-year students at Burapha University. Research instruments included the ASQ3Rs, a reading achievement evaluation program, and a program for testing memory while performing the 2and3-back task. Data were analyzed by the use of t-tests and ANOVA. The results were as follows: 1. The ASQ3Rs program developed from the integration of attention theory with the SQ3Rs reading technique, including the application of human memorization theory, with the objective of enhancing reading achievement and reading memory among undergraduate students. 2. The reading achievement test and the reading memory test while performing 2and3-back task were judged suitable for enhancing the reading achievement and reading memory of the undergraduate students. 3. After the experiment, the ASQ3Rs program group exhibited a statistically significant increase in the reading achievement score when compared to the e-learning program and the reading from book groups (p < .01). 4. After the experiment, the ASQ3Rs program group exhibited a statistically significant increase in the reading memory score when compared to the e-learning program and the reading from book groups (p < .01). It can be concluded that the ASQ3Rs program was suitable for enhancing reading achievement and reading memory of undergraduate students. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57810001.pdf | 9.48 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น