กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/966
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิภูษิต มัณฑะจิตร | th |
dc.contributor.author | สุชา มั่นคงสมบูรณ์ | th |
dc.contributor.author | สืบสิน สนธิรัตน์ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:55Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:55Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/966 | |
dc.description.abstract | องค์ประกอบชนิดของปลาแนวปะการังบริเวณเกาะแรด ถูกประเมินในระหว่างปี พ.ศ. 2555 โดยการเก็บตัวอย่างปลา และการเก็บข้อมูลของชนิดและความชุกชุมที่พบในแต่ละสถานีศึกษา รวม 7 สถานี พบปลารวมทั้งสิ้น 78 ชนิด จาก 29 วงศ์ มีปลา 4 ชนิด ที่พบชุกชุมมากที่สุด คือ Stolepholus gracilis/indius (18.9%) Neopomacentrus azysron (16.5%) Pomacentrus cuneatus (14.6%) Neopomacentrus cyanomos (10.6%) ความหลากหลายชนิดของปลาที่ถูกพบในแต่ละสถานี พบอยู่ระหว่าง 7 ถึง 56 ชนิด โดยสถานีที่พบปลามากชนิดที่สุดคือ สถานีทางตอนเหนือด้านทิศตะวันตก (RW-N) พบปลามากถึง 56 ชนิด และสถานีทางทิศเหนือ (RN) พบ 37 ชนิด ขณะที่สถานีที่พบปลาน้อยที่สุดคือ สถานีทิศตะวันตกด้านใต้ RW-S1 พบปลา 7 ชนิด เมื่อพิจารณาโครงสร้างประชาคมของปลาแนวปะการัง พบว่าแบ่งออกได้เป็น 1 กลุ่ม ที่พบมีความหลากหลายของปลาน้อย และ 3 สถานีที่แยกออกจากกัน แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของโครงสร้างประชาคมปลาระหว่างสถานี โดยลักษณะของแนวปะการัง ตำแหน่งที่ตั้งและทิศทางของลมมรสุมมีส่วนสำคัญต่อลักษณะโครงสร้างของถิ่นที่อยู่และประชาคมปลาที่เข้ามาอาศัยอยู่ รวมถึงอิทธิพลจากกิจกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะการหลุดรอยหรือการปล่อยสัตว์ทะเลจากการเพาะเลี้ยง จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ควรมีการศึกษาติดตามเพื่อประเมินสภาพ และศักยภาพของระบบนิเวศว่ามีความสมบูรณ์เป็นอย่างไร | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนทุนวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปี พ.ศ. 2555 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | พืชทางทะเล | th_TH |
dc.subject | แนวปะการัง | th_TH |
dc.subject | หมู่เกาะแสมสาร | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | ปลาในแนวปะการังในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Coral reef fishes along the marine ecosystem in the marine plant genetic conservation area, Mo Ko samaesarn, Chon Buri Province | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | Species composition of coral reef fishes at Rad lsland were investigated in 2012. Fish specimens were collected and the data on the abundance of each species was also recorded. There were 7 sites be selected for this study. An overall of 78 species from 29 families were recorded. There were 4 species those dominated fish community of Rad lsland. They were: Stolepholus gracilis (18.9%) Neopomacentrus azysron (16.5%) Pomacentrus cuneatus (14.6%) and Neopomacentrus cyanomos (10.6%) The species richness of fish species of each study site were 7 to 56 species. The site that found highest number of fish species were North of the West station (RW-N) found 56 species and the North station (RN) found 37 species. The lowest richness of fishes was recorded at the South of the West station (RW-S) that found 7 species. The community structure of coral reef fishes can be separated into one group and three distinct stations according to the species composition and sominance species within each group. This result was illustrated the different causes of disturbance those be primarily on the geographical position of study sites and the direction of monsoon. However, the influence fromthe anthropogenic disturbances might be the case, when there are some introducing species be released or escaped from mariculture. This is important to monitor the condition of coral reff ecosystem when there are threats both fom human and the nature. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น