กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9606
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนุจรี ภาคาสัตย์
dc.contributor.authorภิญญาพร โชชัญยะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T06:47:37Z
dc.date.available2023-09-18T06:47:37Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9606
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะของชาวนาไทยที่ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพการทำนาในประเทศไทยโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำนา หรือ “ชาวนาไทย”/ เกษตรดีเด่นที่ได้รับโล่ห์รางวับปราชญ์เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 18 คน และ 2) กลุ่มตัวแทน เครือข่าย/องคก์รที่เกี่ยวข้องกับ 7 คน และ 3) กลุ่มนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 4 คน และ 4) ศูนย์การเรียนรู้และประสิทธิภาพผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน ตำบลเจดีย์หัก จังหวัดราชบุรี 1 ศูนย์สมาชิก 39 คน รวมทั้งสิ้น 59 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ สัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างผู้วิจัยสามารถสรุปผลการวิจัยดังต่อไปนี้ 1. สมรรถนะของชาวนาไทยที่ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพการทำนา ผลการศึกษาพบว่า สมรรถนะมี 3 ด้าน 1) ด้านความรู้ 10 สมรรถนะ 2) ด้านทักษะ 12 สมรรถนะ 3) ด้านคุณลักษณะ 2 สมรรถนะ และประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพการทำนา คือ 1) การวัดความสำเร็จที่ระดับการดำรงชีพ และ 2)การวัดความสำแร็จที่ระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2. แนวทางการพัฒนาสมรรถนะชาวนาไทยที่ประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืน ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ประกอบอาชีพการทำนาต้องประเมินสมรรถนะตนเองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และพัฒนาความรู้ของตนเองในแต่ละด้านเพื่อยกระดับที่เป็นผู้เชี่ยวชาญอย่างมืออาชีพ 2) ปราชญ์ชาวนาควรกำหนดแผนการสืบทอดตำแหน่งของชาวนารุ่นต่อไป 3) ปราชญ์ชาวนาควรวางแผน การพัฒนาตนเองให้มีศัยภาพที่เป็นเลิศ 4) ปราชญค์วรกำหนดเครื่องมือการออกแบบการเรียนรู้ ถ่ายทอดแก่ชาวนา 5) ปราชญ์ควรประเมินชาวนาที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ 6) ปราชญ์ควรออกแบบออกหลักสูตรที่สามารถนำไปสู่การปฎิบัติได้อย่างมีรูปธรรม 7) ปราชญ์ควรบูรณาการ เครือข่ายการสนับสนุนทรัพยากรการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่องและประเมินความสำเร็จแต่ละระดับของชาวนาแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบอาชีพชาวนาไทยให้สามารถ หลุดพ้นจากความยากจนสร้างความเข้มแข็งและสามารถอยู่รอดดำรงชีวิตอย่างพอเพียงและยั่งยืนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี “เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน”
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectรายได้เกษตร
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectชาวนา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.titleสมรรถนะของชาวนาไทยที่ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพการทำนา
dc.title.alternativeThe performnce of thi frmers successful in rice
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the characteristics of retirement villages and migration factors that affected the Australian seniors’ decision to buy a retirement home in Thailand. This study was a survey research using a seven-point Likert scale questionnaire. The data were collected from the sample group of 822 Australian seniors, and they were divided into 2 groups. The first group was Australian seniors who had never lived in Thailand and the second group was Australian seniors who had been long-term residents in Thailand. Descriptive statistics were used to describe the significance level of various factor variables and logistic regression analysis was used to test the relationship among various factors that affected decision making to buy a retirement home or to migrate to Thailand. The regression equation was used to estimate or predict the dependent variables. Empirical research found that the characteristics of retirement villages were correlated with the Australian seniors’ decision making to buy a home of the retirement village. Overall, environmental characteristics within the village, location & site, and the central facilities of the village affected the Australian seniors’ decision making to buy a home of the retirement village. Characteristics of home and living space, exterior design features, environment within the village, location & site affected the decision to buy a retirement village of Australian seniors who had long stay in Thailand while the home characteristics of the retirement village did not affect the decision to buy a retirement village for Australian seniors who had never had long stay in Thailand. In terms of overseas migration factors, they were not correlated with the overall Australian seniors’ tendency to migrate abroad for retirement. However, migration factors were correlated with the tendency to decide to migrate abroad for retirement of Australian seniors who had not stayed long in Thailand. They were also correlated with the tendency to migrate abroad for retirement of Australian seniors who had long-term stay in Thailand. The factors that were related to the tendency to migrate were the attraction factors. In addition, it has been found that the decision to migrate abroad was correlated to the Australian seniors’ decision to buy a home in the retirement village.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
54870006.pdf21.86 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น