กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9603
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุชนนี เมธิโยธิน
dc.contributor.authorชีพ เลื่อนลอย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T06:47:36Z
dc.date.available2023-09-18T06:47:36Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9603
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพร้อมของชุมชนต่อการพัฒนาพื้นที่ด้านการจัดการตลาดความรู้ทางธุรกิจเคลื่อนที่สำหรับประชาชน ตามแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเทศบาลตำบลมะกอกเหนือและองค์การบริหารส่วนตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ระเบียบวิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเอกสารการสนทนากลุ่ม การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการขอใช้ที่ดินของมูลนิธิชัยพัฒนาในพื้นที่ของเขตเทศบาลตำบลมะกอกเหนือและตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ซึ่งมาจากหน่วยงานภาครัฐ หน่วยภาคงานเอกชน ผู้นำชุมชน กลุ่มอาชีพ และกลุ่มองค์กรชุมชนท้องถิ่น จำนวน 31 คน โดยใช้วิธีการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive random sampling) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของชุมชนต่อการพัฒนาพื้นที่ในด้านการพัฒนาตลาดความรู้ทางธุรกิจเคลื่อนที่เพื่อประชาชน มี 10 ปัจจัย ได้แก่ 1) ด้านศักยภาพของทุน ชุมชน 2) ด้านการบริหารและการจัดการชุมชน 3) การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ 4) ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม 5) แกนนำของชุมชน 6) การรวมกลุ่มขององค์กรชุมชน 7) การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชุมชน 8) ภาคีเครือข่ายและหน่วยงานสนับสนุน 9) การจัดการเรียนรู้ของชุมชน และ 10) การสื่อสารชุมชน
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการพัฒนาชุมชน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.titleรูปแบบและการจัดการตลาดความรู้ทางธุรกิจเคลื่อนที่เพื่อประชาชน กรณีศึกษาจังหวัดพัทลุง
dc.title.alternativeModeling nd mrketing knowledge mngement of dynmic community business for the public cse study in phtthlung province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study and compare the readiness of the community to develop the area concerning marketing knowledge management of dynamic community business for the public which was based on the concept of sufficiency economy of municipalities and the administrative organizations of Makok Nua and Phanomwang Sub-districts of Khuan Khanun District, Phatthalung Province. Qualitative research was the research methodology consisting of studying the documents, focus group, non-participatory observation and in-depth interviews. Thirty one main informants involved with the land use project of Chaipattana Foundation in the area of Makok Nua and Phanomwang Sub-district in Khuan Khanun District, PhatthalungProvince were from the government sectors, private agencies, community leaders, occupational groups, and local community groups, They were selected by using purposive sampling method. It was found that there were 10 factors affecting communities’ readiness for Area Development in term of marketing knowledge management of dynamic business for the public: 1) thepotential of community capital 2) communities’ management and administration 3) the philosophy of sufficiency economy 4) social and cultural relations, 5) community leaders 6) grouping of community organizations 7) participation in community management 8) parties, networks and support agencies 9) community knowledge management, and10) community communication
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการจัดการสาธารณะ
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58870035.pdf3.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น