กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9500
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chen, Yang | |
dc.contributor.advisor | ศุภฤกษ์ คณิตวรานันท์ | |
dc.contributor.advisor | ปิติวรรธน์ สมไทย | |
dc.contributor.author | เฉิน,ย่าง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T06:17:10Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T06:17:10Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9500 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | ผลงานศิลปะชุด HELLO WORLD เป็นโครงการที่เริ่มต้นมาจากการบ้านในชั้นเรียนของผู้วิจัยซึ่งในขณะนั้นเป็นเวอร์ชั่น HELLO WORLD 1.0 เนื่องจากตอนนั้นผู้วิจัยยังมีปัญหาเกี่ยวกับหลักทฤษฎีและการใช้งานเทคโนโลยีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Technology) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงต้องการต่อยอดและสร้างสรรค์ผลงาน HELLO WORLD 2.0 ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิธีการแนวทางการดำเนินงานและสร้างสรรค์ภาพจิตรกรรมดิจิทัลสองมิติให้กลายเป็นภาพที่อุดมไปด้วยสภาพแวดล้อมเสมือนจริงที่มีความลึกเชิงพื้นที่และอุดมไปด้วยประสบการณ์การโต้ตอบระหว่างผู้ชมกับงานศิลปะในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง จากการการสังเกตปรากฏการณ์ทั่วไปในชีวิตของตนเองและการพัฒนาทางสังคมเพื่อนำข้อมูลจริงที่เกิดขึ้นมาผสมผสานกบการสร้างงานจิตรกรรมดิจิทัลในรูปแบบของการวาดภาพเหนือจริงทำให้ผู้วิจัยสามารถกาหนดขอบเขตเนื้อหาของภาพวาดได้ 4 ชุด คือ 1) Male & Female 2) Adults & Children 3) Work & Life 4) Alive and Death จากนั้น ผู้วิจัยได้นำภาพจิตรกรรมดิจิทัล ดังกล่าวไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน VR โดยใช้เครื่องมือที่ใช้สร้างเกมรูปแบบใหม่ทำให้ภาพทั้งหมดถูกคำนวณด้วยการแสดงผลแบบเรียลไทม์ (คล้ายกับเกมมือถือในปัจจุบัน) และเพิ่มองค์ประกอบแบบโต้ตอบรูปแบบใหม่ที่ขึ้นอยู่การตัดสินใจของผู้ชมว่าจะเปลี่ยนฉากและเรียกการ เคลื่อนไหวขององค์ประกอบใด ดังนั้น กระบวนการวางแผนโครงเรื่องและสตอรี่บอร์ด (Story Board) ที่จำเป็นสำหรับภาพเคลื่อนไหวแบบสามมิติแบบดั้งเดิมจึงถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยการแสดงตัวอย่างฉากการผสมผสานร่วมกันระหว่างภาพวาดดิจิทัลและเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนในผลงานสมบูรณ์ HELLO WORLD 2.0 สามารถทำได้ตามความคาดหวังของผู้วิจัยด้านหนึ่ง เมื่อมองจากมุมมองด้านศิลปะเทคโนโลยี VR ได้นำรูปแบบใหม่ของการแสดงออกมาสู่ศิลปะการวาดภาพดิจิทัล สามารถให้ผู้ชม “เดินเข้าสู่” โลกแห่งการวาดภาพและสร้างการโต้ตอบกับผลงานภาพวาดได้อย่างสนุกสนาน อีกด้านหนึ่งแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยี VR ไม่เพียงแต่สามารถผลิตเกมวิดีโอและสื่อโซเชียลอื่น ๆ ได้แล้วแต่ยังสามารถใช้เป็นรูปแบบใหม่ของศิลปะสื่อใหม่ได้อีกด้วย | |
dc.language.iso | th | |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | จิตรกรรม | |
dc.title | Hello world 2.0 : การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนในงานจิตรกรรมดิจิทัล | |
dc.title.alternative | Hello world 2.0 : Appliction of virtul relity technology in digitl pinting rt | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The HELLO WORLD art series is a project that started from the homework of the researcher which at that time was the HELLO WORLD 1.0 version. Since then, the researcher still has problems with the theory and use of interaction technology (Interactive Technology). Therefore, the researcher wants to extend and create HELLO WORLD 2.0 with the objective to study the method and guidelines for implementation, and to create two-dimensional digital painting with rich image of realistic environment with spatial depth and fully interactive experience between the audience and the work of art in a virtual environment. From the observation of the phenomenon from the researcher's daily life and the social development, the actual data is integrated with the creation of digital painting in the surrealism style. The scope of content for painting is determined at 4 sets, which include 1) Male & Female, 2) Adults & Children, 3) Work & Life, and 4) Alive and Death. Afterwards, the digital paintings were used to created VR work with the new form of tools for game creation, resulting in the real-time calculation of entire image (which resembles the current mobile game). The researcher also adds the new interactive element which depend on the audience's decision to change the scene and call for the movement of any elements. Therefore, the process of planning the plot and storyboard which is crucial for the traditional three-dimensional animation is completely replaced with the scene previews. The combination of digital painting and virtual reality technology in the completed work "HELLO WORLD 2.0" fulfils the expectation of the researcher. From an artistic perspective, the VR technology brings a new form of expression to the digital painting art and allow the possibility for the audience to "enter" in the world of painting and to interact with the painting in a fun way. On the other hand, it also demonstrates that the VR technology is capable not only with producing game, video, and other social media, but also capable as a new form of new media art. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59920396.pdf | 6.57 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น