กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/938
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กรองจันทร์ รัตนประดิษฐ์ | th |
dc.contributor.author | สมจิตต์ ปาละกาศ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:53Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:53Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/938 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ เป็นการปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลคติก Lactobacillus plantarum TISTR 926 เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตกรดแลคติก โดยการฉายรังสีเหนือม่วง การได้รับสาร 2-aminoanthracene และการฉายรังสีเหนือม่วงร่วมกับการได้รับสาร 2-aminoanthracene พบว่า เมื่อนำเชื้อแบคทีเรีย Lactobacillus plantarum TISTR 926 ที่ได้จากการฉายรังสีเหนือม่วงเพียงอย่างเดียวเป็นเวลา 2 นาที ซึ่งสามารถสร้างโคโลนีได้เพียง 1 โคโลนีและมีขนาดใหญ่ที่สุดมาเลี้ยงในขวดทดลองเพื่อปรับปรุงสภาวะการเลี้ยงที่เหมาะสมสำหรับการผลิตกรดแลคติก พบว่าการใช้กากมันสำปะหลังที่ผ่านการย่อยร้อยละ 6 เป็นแหล่งคาร์บอนร่วมกับการเติมแอมโมเนียมซัลเฟตและน้ำแช่ข้าวโพดในอัตราส่วน 6:1 สามารถผลิตกรดแลคติกได้สูงสุดเท่ากับ 13.96 กรัมต่อลิตร และเมื่อขยายขนาดการเลี้ยงในถังหมักขนาด 5 ลิตร พบว่า การเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียที่ได้เป็นเวลา 48 ชั่วโมง สามารถให้ผลผลิตกรดแลคติกเพิ่มขึ้น 3 เท่า (42.35 กรัมต่อลิตร) ของการเลี้ยงแบบในขวดทดลอง | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนกรวิจัยจากมหาวิทยาลัยบูรพา งบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2553-2554 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | กรดแลคติก | th_TH |
dc.subject | กากมันสำปะหลัง | th_TH |
dc.subject | การหมัก | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การเพิ่มมูลค่าของกากมันสำปะหลัง: การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียผลิตกรดแลคติกด้วยการเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์และการพัฒนาสภาวะการหมักที่เหมาะสมสำหรับการผลิตกรดแลกติกจากการมันสำปะหลัง | th_TH |
dc.title.alternative | Value added enhancement of cassava bagasse: Improvement of lactic acid bacteria by induced mutation and optimization of fermentation conditions for lactic acid production from cassava bagasse | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | In the present study, improvement of lactic acid production potential of Lactobacillus plantarum TISTR 926 by induced mutation has been conducted using ultraviolet radiation and 2-aminoanthracene as mutagens. Bacteria have been exposed to one of those mutagens or both of them. After exposed to ultraviolet radiation alone during 2 min, only one biggest colony was found. Culturing of the latter in laboratory using 6% of hydrolyzed cassava bagasse as carbon source in the presence of ammonium sulfate and corn steep liqueur mixture (6:1), it gave highest lactic production of 13.96 g/l. Thereafter, when the culture has been scaled up to 5 fermentor during culture time of 48 h, 42.35 g/l of lactic acid production (about 3 times of laboratory scale) was observed. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น