กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9296
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อภิญญา นวคุณ | |
dc.contributor.author | จุฬารัตน์ หงส์วลีรัตน์ | |
dc.contributor.author | กรกฎ นวคุณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | th |
dc.date.accessioned | 2023-08-17T11:08:06Z | |
dc.date.available | 2023-08-17T11:08:06Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9296 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ได้พัฒนาวิธีการสกัดและเพิ่มความเข้มข้นไอออนเงินในตัวอย่างน้ำด้วยเทคนิคด้วยวิธีการสกัดระดับจุลภาคด้วยของเหลวแบบกระจาย และการสกัดไอออนเงินในตัวอย่างอาหารด้วยเทคนิคด้วยวิธีการสกัดโดยใช้อัลตราโซนิค และตรวจวัดปริมาณไอออนเงินด้วยเทคนิคยูวีวิสิเบิ้ลสเปกโทรเมตรีสำหรับการหาปริมาณไอออนเงินและอนุภาคนาโนของเงิน โดยได้ศึกษาความน่าเชื่อถือของวิธีการวิเคราะห์พบว่ามีค่าที่ยอมรับได้ตามวิธีมาตรฐานสากล นอกจากนี้ยังได้นำวิธีการนี้ไปวิเคราะห์ปริมาณไอออนเงินและอนุภาคนาโนของเงินในตัวอย่างน้ำและตัวอย่างอาหารทะเล โดยพบปริมาณไอออนเงินในตัวอย่างน้ำดื่ม น้ำผิวดินและน้ำทะเลต่ำกว่าค่ามาตรฐาน สำหรับการวิเคราะห์ปริมาณไอออนเงินในตัวอย่างอาหารทะเลพบปริมาณไอออนเงินอยู่ในช่วง 1.13 -3.16 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เมื่อนำมาประเมินความเสี่ยงพบว่าตัวอย่างอาหารส่วนใหญ่มีความเสี่ยงในการบริโภคต่ำ อย่างไรก็ตามผลการวิเคราะห์ปริมาณอนุภาคนาโนของเงินพบในปริมาณต่ำมากอันเนื่องมาจากความไม่เสถียรของอนุภาคนาโนของเงินในสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ไอออนเงิน | th_TH |
dc.title | การหาปริมาณปนเปื้อนของอนุภาคนาโนของเงินและไอออนเงิน (I) ในผลิตภัณฑ์อาหาร | th_TH |
dc.title.alternative | Determination of silver nanoparticle and Ag (I) contaminated in food products | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | apinyan@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | chulurat@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | n_korarat@ru.ac.th | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The dispersive liquid liquid microextraction for extraction and preconcentration of silver ion in water sample and the ultrasonic extraction for extraction of silver ion in food samples were developed in this research for determination of silver ion and silver nanoparticles. The proposed methods were validated by mean of international standard criteria. The method was also used to determine silver ions and silver nanoparticles in water and seafood samples. The amount of silver ions found in the drinking water, surface water and sea water are below the standard value. For the analysis of silver ions in seafood samples, silver ions were found in the range of 1.13 -3.16 mg/kg. In addition, in the risk assessment study, it was found that most food samples were at a low risk. However, the silver nanoparticles found in samples were in trace level due to the instability of silver nanoparticles in the environment. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2566_014.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น