กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9286
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อลงกต สิงห์โต | - |
dc.contributor.author | ประเสริฐ โศภน | - |
dc.contributor.author | อุไรภรณ์ บูรณสุขสกุล | - |
dc.contributor.author | นริศา เรืองศรี | - |
dc.contributor.author | พรเพ็ญ เมธาจิตติพันธ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-07T03:33:59Z | - |
dc.date.available | 2023-08-07T03:33:59Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9286 | - |
dc.description.abstract | ปัญหาทางช่องปาก เป็นปัญหาที่มักพบไดัในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีปัญหาทางช่องปาก มักสูญเสียความอยากอาหาร รวมถึงมีปัญหาด้านการเคี้ยวและการกลืน นําไปสู่ภาวะทุพโภชนาการและการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสยังมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเนื่องจากผลข้างเคียงของยาต้านไวรัส การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาของว่างสูตรโปรตีนสูงโดยใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลสําหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีปัญหาทางช่องปากจากการสํารวจรายการของว่างพบว่า ลูกอมนมถั่วเหลืองเป็นของว่างที่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเลือกมากที่สุด จากนั้นทําการพัฒนาลูมอมนมถั่วเหลืองโดยแบ่งออกเป็นสูตรน้ำตาล สูตรหญ้าหวาน และสูตรซูคราโลส กําหนดระดับความหวานในแต่ละสูตรเท่ากันใช้เวย์โปรตีนสกัดเป็นแหล่งของโปรตีนหลักของลูกอม ทําการประเมินความพึงพอใจทางประสาทสัมผัสในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีปัญหาทางช่องปากจํานวน 30 คนที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ผลที่ได้พบว่าคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยด้านลักษณะที่ปรากฏ ด้านรสชาติ และความพึงพอใจโดยภาพรวมของลูกอมทั้ง 3 สูตร มีความแตกตางกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) นอกจากนี้พบว่าคะแนนความพึงพอใจโดยภาพรวมเฉลี่ยของสูตรหญ้าหวานไม่ถึงระดับที่ให้การยอมรับ ในขณะที่สูตรน้ำตาลและซูคราโลสมีคะแนนความพึงพอใจโดยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับที่ให้การยอมรับจากอาสาสมัคร จึงสรุปได้ว่าลูกอมนมถั่วเหลืองสูตรโปรตีนสูงที่พัฒนาขึ้นสูตรที่ใช้น้ำตาลและสูตรที่ใช้ซูคราโลสเป็นสารให้ความหวานได้รับการยอมรับจากผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีปัญหาทางช่องปาก | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.subject | ลูกกวาด | th_TH |
dc.subject | ผู้ติดเชื้อเอชไอวี - - โภชนาการ | th_TH |
dc.subject | นมถั่วเหลือง | th_TH |
dc.title | การพัฒนาลูกอมนมถั่วเหลืองสูตรโปรตีนสูงโดยการลดปริมาณน้ำตาลด้วยสารให้ความหวานแทนน้ำตาลสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีปัญหาทางช่องปาก | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | alongkote@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | uraipornbrnssk@gmail.com | th_TH |
dc.author.email | narisa.nr@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Oral problems are one of the most deleterious health conditions commonly found in people living with HIV (PLHIV) which seriously affect the food intake and dietary habit. PLHIV with oral problems are at risk in loosing appetite and reduced food intake that can lead to malnutrition and muscle wasting. In addition, they are also facing hyperglycemia due to the antiretroviral drug’s side effects. This study, therefore, aimed to develop an acceptable high protein snack using the artificial sweeteners which is easy to chew and swallow for PLHIV with oral problems. From our previous survey soy bean milk candy was the snack most favored by PLHIV; thus it was mixed with either refined sugar, or artificial sweeteners comprising of stevioside or sucralose at the same sweetening level, and isolated whey protein as the main source of dietary protein. To determine the participants’ satisfaction, thirty PLHIV with oral problems, who attend the Outpatient Department, Queen Savang Vadhana Memorial hospital, were recruited to participate in this study to conduct the sensory evaluation. In general, results revealed significantly higher satisfaction scores on appearance, taste, and overall satisfaction (p<0.05) among participating PLHIV for formulae using sugar and sucralose than the formula using stevioside. In conclusion, the high protein soy bean milk candy using sugar and or sucralose were equally satisfying and well accepted by PLHIV with oral problems. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2566_086.pdf | 739.93 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น