กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9272
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอภิรดี ปิลันธนภาคย์
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สวนจิตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์th
dc.date.accessioned2023-07-10T04:07:30Z
dc.date.available2023-07-10T04:07:30Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9272
dc.descriptionได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558th_TH
dc.description.abstractรานาเกลือ 64 สายพันธุ์ จากจำนวน 150 สายพันธุ์ (42.7%) สามารถยับยั้งราก่อโรคแอนแทรกโนส Colletotrichum spp. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง C. gloeos porioides DOAC 0782 ด้วยปฏิสัมพันธ์แบบ antibiosis บนอาหาร PDA/dw และ/หรือ PDA/SW30 ppt ในจำนวนนี้รา 50 สายพันธุ์ จากจำนวน 62 สายพันธุ์ ที่นำมาทดสอบ (80.6%) มีประสิทธิภาพในการยับยั้งราก่อโรคพืช อย่างน้อย 1 ชนิด มากกว่าร้อยละ 35 (%IE>35) ทั้งในสภาวะการเลี้ยงที่มีความเค็มหรือไม่มีความเค็ม และรา 44 สายพันธุ์ (71.0%) ยับยั้งได้ทั้ง C. capsici DOAC 1511 และ C. gloeosporioides DOAC 0782 เมื่อเลี้ยงร่วมกัน 5 วัน บนอาหาร PDA/SW30 ppt รานาเกลือรหัส SSPB4225 ให้ผลยับยั้ง C. capsici DOAC 1511 และ C. gloeosporioides DOAC 0782 ด้วยค่า %IE สูงสุดเท่ากับ 75.0 และ 76.0 ตามลำดับ จากการทดสอบด้วยวิธี disc diffusion พบว่าสารสกัดหยาบเอธิลอะซิเตท 90 สาร ที่สกัดจากอาหาร PDA/dw และ PDA/SW30 ppt ที่ผ่านการเลี้ยงราที่มี %IE ≥35 รวม 45 สายพันธุ์ ส่วนใหญ่ยับยั้งราก่อโรคพืชได้ สารสกัด 86.7% และ 81.1% ยับยั้ง C. gloeosporioides DOAC 0782 และ C. capsici DOAC 1511 ได้ตามลำดับ สารสกัด 10 สาร แสดงฤทธิ์ยับยั้งสูงสุด มีค่า %IE >70 สารสกัด SSPB3124 และ SSPB3208 ที่สกัดจาก PDB/SW30 ppt แสดงฤทธิ์ยับยั้งราก่อโรคพืชสูงสุด ค่า MIC ของสารสกัดนี้เมื่อทดสอบกับราก่อโรคพืช C. gloeosporioides DOAC 0782 และ C. capsici DOAC 1511 เป็นเวลา 3 วัน มีค่าระหว่าง 256-512 μg/ml การจัดจำแนกรานาเกลือโดยใช้ข้อมูลทางสัณฐานวิทยาและการเปรียบเทียบลำดับเบสบนสาย DNA พบว่ารา SSPB3124 และ รา SSPB3208 น่าจะเป็น Aspergillus สปีชีส์เดียวกัน แต่ยังไม่สามารถระบุ สปีชีส์ได้แน่ชัด และอาจเป็นสปีชีส์ใหม่th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเชื้อราth_TH
dc.subjectสารต้านจุลชีพth_TH
dc.titleการศึกษาฤทธิ์ต้านราก่อโรคพืชของราที่แยกได้จากนาเกลือth_TH
dc.title.alternativeStudy of anti-plant pathogenic fungi of fungi isolated from solar saltern landen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeSixty four out of 150 solar saltern fungi (42.7%) exhibited antibiosis interaction against anthracnose causing Colletotrichum spp., especially against C. gloeosporioides DOAC 0782 on both or either PDA/dw or PDA/SW30 ppt. Among these fungi, f ifty out of 62 fungi tested (80.6%) inhibited at least one Colletotrichum sp. with %IE >35 either on PDA/dw or PDA/SW30 ppt. After 5 days incubation, 44 fungi (71.0%) exhibited inhibitory activity against both C. capsici DOAC 1511 and C. gloeosporioides DOAC 0782 on PDA/SW30 ppt. The highest activity against C. capsici DOAC 1511 and C. gloeosporioides DOAC 0782 were obtained from fungus SSPB4225, with %IE 75.0 and 76.0, respectively. Disc diffusion test of 90 extracts from both PDA/dw and PDA/SW30 ppt culture filtrates of 45 fungi with %IE ≥ 35 revealed 86.7% and 81.1% inhibition against C. gloeosporioides DOAC 0782 and C. capsici DOAC 1511, respectively. Ten extracts exhibited strong activity with %IE >70. Extracts from PDB/SW30 ppt filtrate of SSPB 3124 and SSPB 3028 fungi exhibited the highest inhibitory activity. The MIC against C. gloeosporioides DOAC 0782 and C. capsici DOAC 1511 were 256-512 μg/ml. Morphological identification and DNA sequence comparison indicated that SSPB3124 and SSPB3208 had tendency to be the same Aspergillus species and may be new to Sciences.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2566_015.pdf2.87 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น