กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9271
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorราเมศวร์ คุณวรรณพงษ์-
dc.date.accessioned2023-07-10T03:22:54Z-
dc.date.available2023-07-10T03:22:54Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9271-
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจาก คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพาประจำปี พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การทดสอบความสามารถในการพยากรณ์ผลตอบแทนหลักทรัพย์ และสมมติฐาน ตลาดหลักทรัพย์ที่ปรับตัวได้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทดสอบความสามารถในการพยากรณ์และระดับ ความสามารถในการปรับตัวได้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) เพื่อทดสอบทฤษฎีการปรับตัวได้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในสภาวะตลาดที่แตกต่างกัน และ (3) เพื่อทดสอบเปรียบเทียบการนำทฤษฎีการปรับตัวได้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไปใช้สำหรับหลักทรัพย์ที่มีขนาดกิจการแตกต่างกัน การศึกษาครั้งนี้เป็นการทดสอบความสามารถในการพยากรณ์และสมมติฐานตลาดหลักทรัพย์ที่ ปรับตัวได้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยวิธีการทดสอบ อัตราส่วนความแปรปรวน (Variance Ratio) 3 รูปแบบได้แก่ Lo-Mackinlay Variance Ratio (LMVR) Multiple Variance Ratio (MV) และ Wild Bootstrap Multiple Variance Ratio (WBMV) เพื่อทดสอบความสามารถในการพยากรณ์และผลการศึกษาพบว่า ไม่สามารถพยากรณ์ผลตอบแทนในภาพรวมตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ ทั้งก่อนและหลังวิกฤติการณ์ทางการเงินของประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 2007 แต่เมื่อมีการกลุ่มหลักทรัพย์ออกเป็น 3 กลุ่มตามมูลค่าของบริษัทพบว่า กลุ่มหลักทรัพย์ขนาดเล็กไม่มีประสิทธิภาพตามแนวคิด Efficient Market Hypothesis (EMH) และเมื่อทดสอบการปรับตัวได้ของประสิทธิภาพเมื่อเวลาผ่านไปด้วยวิธีการ Rolling Windows พบว่าประสิทธิภาพในแต่ละช่วงเวลาของกลุ่มหลักทรัพย์ขนาดใหญ่และขนาดเล็กที่มีการปรับตัวเมื่อเวลาผ่านไปth_TH
dc.description.sponsorshipคณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพยากรณ์th_TH
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.titleการทดสอบความสามารถในการพยากรณ์ผลตอบแทนหลักทรัพย์ และสมมติฐาน ตลาดหลักทรัพย์ที่ปรับตัวได้th_TH
dc.title.alternativeTesting Stock Returns Predictability and Adaptive Market Hypothesisth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailramede_king@hotmail.comth_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThe research “Testing Stock Returns Predictability and Adaptive Market Hypothesis”. The purposes of this research were to (1) examine a predictability and a adaptability of Stock Exchange of Thailand (SET), (2) examine an Adaptive Market Hypothesis (AMH) of Stock Exchange of Thailand in different market conditions, and (3) compare an Adaptive Market Hypothesis in different firm’s market capitalization. This study is examines the predictability of stock returns and adaptive market hypothesis in the Stock Exchange of Thailand (SET) by using the Variance Ratio test in 3 different methods including Lo-Mackinlay Variance Ratio (LMVR), Multiple Variance Ratio (MV), and Wild Bootstrap Multiple Variance Ratio (WBMV). The empirical result shows that an overall market is unpredictable, both before and after The United State of America’s financial crisis in 2007. However, we found that the MSCI/SET small-cap is not followed the EMH. Furthermore, we also investigate the Adaptive market hypothesis by using MV and WBMV with Rolling Windows framework and it represents that MSCI/SET large-cap and MSCI/SET small-cap are provided efficiency in some periods and inefficiency in some periods.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2566_009.pdf638.46 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น