กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/919
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย | th |
dc.contributor.author | สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:51Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:51Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/919 | |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งกุลาดำที่อุณหภูมิต่ำเพื่อการเพาะเลี้ยงและการอนุรักษ์ในปีที่ 1 ของการวิจัยได้ศึกษา การเปลี่ยนแปลงคุณภาพสเปิร์มของพ่อพันธุ์กุ้งกุลาดำและพัฒนาเทคโนโลยีการแช่เย็นถุงสเปิร์มกุ้งกุลาดำ การศึกษาคุณภาพสเปิร์มกุ้ง ทำโดยการสุ่มกุ้งกุลาดำจากบ่อดินที่เลี้ยงขุนทุก ๆเดือน ตั้งแต่กุ้งมีอายุ 7 เดือน ถึง 18 เดือน พบว่า กุ้งมีถุงสเปิร์มสีขาวชัดเจนเมื่อกุ้งมีอายุ 9 เดือนขึ้นไปแม้ว่าเปอร์เซ็นต์กุ้งที่สามารถรีดถุงสเปิร์มออกมาได้ยังมีค่าไม่มาก และกุ้งอายุ 10-17 เดือนมีเปอร์เซ็นต์ที่สามารถรีดถุงสเปิร์มออกมาได้เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนจาก 50% เป็น 95% การแช่เย็นถุงน้ำเชื้อกุ้งกุลาดำ ทำโดยนำถุงสเปิร์ม หรือถุงน้ำเชื้อ (spermatophore) มาแช่ในสารละลายบัฟเฟอร์ 4 ชนิดได้แก่ mineral oil, ringer solution, phosphate buffer และ 0.85% NaCl ที่อุณหภูมิ 2-4 องศาเซลเซียส แล้วทำการประเมินคุณภาพสเปิร์มทุก 7 วัน พบว่า ถุงเสปิร์มที่แช่ในสารละลาย mineral oil นาน 35 วันยังคงมีลักษณะภายนอกของถุงที่คงรูป และมีเปอร์เซ็นต์สเปิร์มที่มีชีวิตสูง | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | กุ้งกุลาดำ | th_TH |
dc.subject | น้ำเชื้อ | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุลาดำที่อุณหภูมิต่ำ เพื่อการเพาะเลี้ยงและการอนุรักษ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Development of low temperature preservation technology of black tiger shrimp (Penaeus monodon) spermatophores for aquaculture and conservation | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | Development of low temperature preservation technology of black tiger shrimp (Penaeus monodon) spermatophores for aquaculture and conservation was investigated. In the first year, attempts were focused on assessment of sperm quality and development of chilled storage technique for spermatophore. Male shrimp were monthly sampling at the age of 7-18 months for determination of sperm quality. Shrimp older than 9 months had lager spermatophores than younger ones regardless of lower percentage of expressible spermatophores. Shrimp at 10-17 months exhibited higher percentage of expressible spermatophores (50-95%). Spermatophores were randomly preserved in mineral oil. Ringer solution, phosphate buffer or 0.85% NaCl at 2-4 C' and sperm quality was evaluated every 7 days. Mineral oil was an appropriate buffer for chilled storage of spermatophores due to the presence of higher sperm viability and stability of spermatophores | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น