กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9170
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรวุฒิ เพ็งพันธ์ | |
dc.contributor.advisor | สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์ | |
dc.contributor.author | อัครพงษ์ เพ็ชรพูล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T09:02:22Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T09:02:22Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9170 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านการสร้างหุ่นยนต์สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และเพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศด้านการสร้างหุ่นยนต์สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวมรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 คน และใช้การสนทนากลุ่มกับกลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน กลุ่มนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษา และกลุ่มบริษัทเอกชนที่สนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศด้านการสร้างหุ่นยนต์ จำนวน 7 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา แบบตีความและสรุปข้อมูลสำคัญ โดยเขียนเป็นเชิงพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านการสร้างหุ่นยนต์มีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ลักษณะของผู้เรียนต้องมีพื้นฐานความรู้ตามหลักสะเต็มศึกษา ลักษณะของผู้สอนต้องมีทักษะการบูรณาการความรู้ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และลักษณะของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนต้องมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่การเรียนรู้ด้านการสร้างหุ่นยนต์เป็นสำคัญ 2. แนวทางการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศด้านการสร้างหุ่นยนต์ได้รูปแบบเป็น Robotic model ซึ่งประกอบไปด้วยบทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Role of stakeholders: R) การกำหนดวัตถุประสงค์อย่างมีเป้าหมาย (Objective: O) การทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ (Benefit: B) การสร้างโอกาสอย่างเหมาะสม (Opportunity: O) การทำงานประสานร่วมกัน (Team work: T) การบูรณาการองค์ความรู้ (Integration: I) การสร้างความท้าทาย (Challenge: C) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สังคมสงเคราะห์ | |
dc.subject | สตรี -- การสงเคราะห์ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม | |
dc.title | การจัดสวัสดิการสังคมเพื่อเสริมพลังอำนาจของผู้ใช้บริการในโครงการบ้านน้อยในนิคมสร้างตนเองให้มีการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในฐานะทุนมนุษย์ | |
dc.title.alternative | Socil welfre for empowerment of client in the settlement house for trnsformtive lerning s humn cpitl | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research was conducted to study the characteristics of student development activities in robot construction, and to study guidelines to help lower secondary education level students to collection achieve their robot coding construction. Qualitative research data and analysis were employed in this study. The data collection was done by in-depth interviews and focus group discussion. The participants for interview were 15 teachers and instructors from Career and Technology, Mathematics and Science fields. Regarding the focus group discussion, there were 7 participants who were teachers, educational personals, academics from universities and representatives from private companies who supported learner development activities that lead to the excellence in robot coding construction. This research is said to have adopted a descriptive research the data were gathered, analyzed, interpreted and summarized qualitatively. The findings were; 1. There are three important dimensions in the characteristics of learner development activities in robot coding construction. Firstly, the learners need to understand the basic principles in STEM education. Secondly, the instructors need to promote practical integration of teaching and practice. Lastly, the integrated activities must be primarily aimed to enhance the potential of the scholars in robot construction. 2. The model used as a guideline in the evolution of student development activities toward the excellent robot coding construction is robotic model which consists of identifying the role of stakeholders (Role of stakeholders: R), specifying objectives (Objective: O), optimizing the benefit from the knowledge (Benefit: B), creating opportunities (Opportunity: O), improving teamworks (Teamwork: T), integrating knowledge derived from a variety of sources (Integration: I) and creating new challenges (Challenge: C). | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การศึกษาและการพัฒนาสังคม | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57810141.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น