กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9148
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภัทราวุธ ไทยพิชิตบูรพา
dc.contributor.advisorวิชญา กันบัว
dc.contributor.advisorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.authorวรกานต์ เสถียรวงศ์นุษา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T09:02:11Z
dc.date.available2023-06-06T09:02:11Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9148
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractจากการศึกษาโครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอนในบริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด จำนวน 10 สถานีทั้งหมด 3 ครั้งในเดือนกุมภาพันธ์เดือนพฤษภาคม และเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 พบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 3 ดิวิชั่น 4 คลาส ได้แก่ ดิวิชั่น Chlorophyta (สาหร่ายสีเขียว) ดิวิชั่น Cyanophyta (สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) และดิวิชั่น Chromophyta (สาหร่ายสีน้ำ ตาลแกมทอง) ซึ่ง พบว่า ดิวิชั่น Chromophyta คลาส Bacillariophyceae (ไดอะตอม) มีความหลากหลายมากที่สุด ส่วนแพลงก์ตอนสัตว์พบทั้งหมด 9 ไฟลัม 29 กลุ่ม โดยพบแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่ม Calanoid copepod เป็นกลุ่มเด่นตลอดการศึกษาและจากการศึกษาความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืชในบริเวณอ่าวตราด ในเดือนกุมภาพันธ์เดือนพฤษภาคม และเดือนสิงหาคม พบว่ามีความหนาแน่นเฉลี่ยของแพลงก์ตอนพืช เท่ากับ 35,771 เซลล์ต่อลิตร 532,120 เซลล์ต่อลิตรและ 855,820 เซลล์ต่อลิตร ตามลำดับ โดยพบว่า มีเพียงเดือนสิงหาคมที่พบแพลงก์ตอนพืชกลุ่มสาหร่ายสีเขียว ส่วนการศึกษาความหนาแน่นของแพลงก์ตอนสัตว์พบว่ามีความหนาแน่นเฉลี่ยของแพลงก์ตอนสัตว์ในเดือนกุมภาพันธ์เดือนพฤษภาคม และเดือนสิงหาคม เท่ากับ 7,765 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร 4,412 ตัวต่อลูกบาศก์เมตรและ 10,815 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ในส่วนของโครงสร้างของแพลงก์ตอนในบริเวณอ่าวตราดพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละเดือน ซึ่งพบความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืชกลุ่มไดอะตอม กลุ่มไดโนแฟลกเจลเลต และกลุ่มสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน และแพลงก์ตอนสัตว์พบกลุ่ม Calanoid copepod, Arrow worm, Comb jellyfish และ Cnidaria Larva ในช่วงที่น้ำมีค่าความเค็มสูงและพบความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืชกลุ่มสาหร่ายสีเขียวและกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลต และแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่ม Calanoid copepod ในช่วงที่น้ำมีค่าความเค็มต่ำ ซึ่งจากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าความเค็มและสารอาหารเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการกระจายของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectแพลงก์ตอน
dc.subjectประชากรแพลงก์ตอน
dc.titleโครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอน บริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด
dc.title.alternativePlnkton community structure in trt by, trt province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe plankton communities in Trat Bay, Trat Province were studied. The plankton samples were collected 3 times in each station, from 10 stations in February, May and August 2018. The results showed 3 phytoplankton divisions, consisting of the Chlorophyta (green algae division) Cyanophyta Division (Blue-Green Algae) and Chromophyta Division (Golden-Algae) which found that Chromophyta Division Bacillariophyceae (Diatom) was the most diversity. In total, 9 zooplankton were found in 29 groups. The zooplankton, Calanoid copepod, was a dominant group throughout the study. The average density of phytoplankton in February, May and August was 35,771, 532,120 and 855,820 cells per liter, respectively. The result indicated that only in August, phytoplankton was found in the green algae group. The average density of zooplankton in February, May and August was 7,765, 4,412 and 10,815 individuals per cubic meter, respectively, in terms of the structure of plankton in the area of Trat Bay. Each mouth found the changes with the density of phytoplankton in the diatom group Dinoflagellate group, the group of blue-green algae and zooplankton were found in the group of Calanoid copepod, Arrow worm, Comb jellyfish and Cnidaria Larva during high salinity. The density of phytoplankton in the group of green algae, the Dinoflagellate group and the Calanoid copepod zooplankton during the low salinity water period were also found. In this study, both salinity and nutrients were the main factors affecting the structural changes and distribution of phytoplankton and zooplankton.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวาริชศาสตร์
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
60910015.pdf4.34 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น