กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/906
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นิรันดร์ วิฑิตอนันต์ | |
dc.contributor.author | ปรียารัตน์ นาคสุวรรณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:50Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:50Z | |
dc.date.issued | 2537 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/906 | |
dc.description.abstract | โครงการนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประเมินระดับความรุนแรงของปัญหามลพิษทางเสียงจากการจราจรด้วยการตรวจความดังเสียง และเพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่อาศัยอยู่ริมเส้นทางจราจรเกี่ยวกับปัญหามลพิษทางเสียงจากการจราจรโดยการใช้แบบสอบถาม การตรวจวัดระดับความดังเสียงทำโดยบันทึกค่าระดับความดังเสียงทุก 10 วินาที แล้วนำมาคำนวณหาเกณฑ์ระดับความดังเสียงต่าง ๆ เพื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน พบว่ามีค่าเกินมาตรฐานทั้ง 3 จุด L95 มีค่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง คือ 73.05-78.44 เดซิเบล (เอ) ส่วนค่า Leq(8) มีค่าอยู่ในเกณฑ์สูงมากคือ 82.00-95.93 เดซิเบล (เอ) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่คิดว่าที่ที่ตนอยู่มีปัญหาเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงมาก โดยแหล่งกำเนิดที่รบกวนประชาชนมากที่สุดคือรถจักรยานยนต์และรถโดยสารประจำทาง ทั้งนี้ปัญหามลพิษทางเสียงจากการจราทำให้ประชาชนที่อยู่ริมเส้นทางจราจรมีอาการหงุดหงิด รู้สึกรบกวนเวลาสนทนาและเกิดความเครียด เมื่อนำข้อมูลทั้ง 2 ส่วนมาประกอบกันเพื่อประเมินผลกระทบของปัญหามลพิษทางเสียงพบว่ามีผลเกิดขึ้นใน 2 ลักษณะ ผลกระทบในระยะยาวคือ ประชาชนที่อาศัยริมเส้นทางจราจรสูญเสียการได้ยินหรือประสิทธิภาพในการได้ยินลดน้อยลงก่อนวัยอันควร และผลกระทบในระยะสั้นคือก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญเฉพาะบุคคล ทั้งนี้เพื่อพิจารณาโดยรวมพบว่าจุดตรวจวัดทั้ง 3 มีปัญหามลพิษทางเสียงจากการจราจรอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างรุนแรง โดยจุดตรวจวัดที่มี 3 มีปัญหามากที่สุด รองลงมาได้แก่ จุดตรวจวัดที่ 2 และจุดตรวจวัดที่ 1 ตามลำดับ | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากหมวดเงินงบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | จราจร - - ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | มลพิษทางเสียง - - ชลบุรี - - การประเมิน | th_TH |
dc.subject | มลพิษทางเสียง - - ชลบุรี | th_TH |
dc.title | การศึกษาประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านเสียง จากการจราจรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Environmental impact assessment of traffic noise in Amphur Muang , Changwat Chon Buri | en |
dc.type | งานวิจัย | |
dc.year | 2537 | |
dc.description.abstractalternative | The main object of this research was on assessment of traffic noise pollution problem in Amphur Muang Chonburi. The study assessed the traffic noise pollution by noise rating record which related to the people's attitude. All data were collected directly from sample people who has been living in the traffic area. Noise rating were carried out by sound level recorded every 10 recond and compare with noise rating standard. The result were; the background noise (L95) fall between 73.05 and 78.44 dB(A), and the equivalent continuous sound level in 8 hours (Leq(8) fall between 82.00-95.93 dB(A). It showed that both level were higher than noise rating standard. Most of the people complained that they have had a seriouus problem of noise pollution. Motorcycle and bus running were major noise sources. In general, all traffic noise effected people's oral communivation, made them tress, train and borings. The traffic noise assessment by integrating two parts results showed that the traffic noise impact both in short term and long term, for short term traffic noise disturbed the people, for long term people may be have loss hearing or inefficient of hearing. All three sample stations have had sever traffic noise pollution problem | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น