กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/89
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสิริวรรณ วงษ์ทัต
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:47Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:47Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/89
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากลวิธีการสร้างตัวละครปรปักษ์ในวรรณคดีไทยอโดยศึกษาจากวรรณคดีไทยประเภทบันเทิงคดีสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นจำนวน 28 เรื่อง เนื้อหาแบ่งอกกเป็น 4 บทคือ บทที่ 1 บทนำกล่าวถึงความสำคัญของปัญหาและความมุ่งหมาย บทที่ 2 วิเคราะห์กลวิธีการสร้างและลักษณะนิสัยของตัวละครปรปักษ์ บทที่ 3 ศึกษาโลกทัศน์ของกวีในการสร้างตัวละครปรปักษ์ในวรรณคดีไทย บทที่ 4 สรุปผลการวิจัยและข้อเเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่ากลวิธีการสร้างตัวละครปรปักษ์ในวรรณคดีไทยทั้ง 28 เรื่อง ผู้แต่งใช้กลวิธีการสร้างบุคลิกของตัวละครโดยการบรรยาย พฤติกรรมของตัวละคร และการให้ตัวละครอื่นพูดถึงงตัวละครตัวนั้นซึ่งแสดงถึงประวัติ สถานภาพ ลักษณะนิสัยของตัละครปรปักษ์ รวมทั้งสาเหตุของความขัดแย้งกับพระเอก และความสำคัญของตัวละครปรปักษ์ที่มีต่อเนื้อเรื่อง การศึกษาโลกทัศน์ของกวีในการสร้างตวละครปรปักษ์ กวีสะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมไทยในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นด้านความเชื่อและค่านิยมของสังคมไทยได้อย่างชัดเจน ด้านความเชื่อ ได้แก่ ความเชื่อเรื่องกรรม ไสยศาสตร์ โหราศาสตร์ ความฝัน ส่วนค่านิยมได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความกตัญญูกตเวที ความหยิ่งในศักดิ์ศรี เป็นต้น โดยค่านิยมนั้นมีค่านิยมที่ดีและไม่ดี ทั้งความเชื่อและค่านิยมชี้ให้เห็นว่าสภาพสังคมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นไปในลักษณะเดียวกันทั้งในด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวิถีชีวิตของประชาชนth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectตัวละครth_TH
dc.subjectตัวละครและลักษณะนิสัยในวรรณคดีth_TH
dc.subjectวรรณคดีไทยth_TH
dc.subjectสาขาปรัชญาth_TH
dc.titleการศึกษาการสร้างตัวละครปรปักษ์ในวรรณคดีไทยth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2545
dc.description.abstractalternativeThe pupose of this study isto analyse the methods which are used by the writers for creating antagonists in Thai literrature. This study goes through twenty eight Thai entertaining literary works written in Ayutthaya and the beginning of Rattanakosin periods. This research is devided into four chapters. Chapter I deals with the importance of the problem and purpose of the the study. Chapter II analyses the methods used for creating the antagonists and the characteristics of the antagonists. Chapter III studies the viewpoints of the writers in creating the antagonists. Chapter IV is the conclusion and recommending further studies related to this research. It is found that in all twenty eight Thai entertaining literary works, the writers use many methods for creating the antagonists, namely the description of the writers and the behaviour of the antagonists. Moreover the writers also use the method that the antagonists are created by other characters of the story, who speak about their behaviour, autobiography, status and characteristics. The cause of conflict with protagonist or hero and the importance of the antagonists itself which has an effect on the story are also the methods for creating the antagonists in Thai entertainning literature by the writers. From the study of their viewpoints in creating the antagonists, the writers clearly present the conditions, beliefs and values of Thai society in the times of Ayutthaya and the Rattanakosin. The beliefs in the law of karma, superstition, magic, astrology and dream were the beliefs of Thai people in those periods. The positive and negative values of Thai society in those times were such as honesty, gratitude, arrogance, etc. Both beliefs and values presented by the antagonists in Thai entertaining literrature written in those times specifi that the way of life, cuture and customs of people and Thai society in Ayutthaya and the beginning of Rattanakosin periods are the same.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2545_016.pdf9.25 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น