กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/898
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชุลีพร พุฒนวล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:54:50Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:54:50Z | |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/898 | |
dc.description.abstract | ทำการสังเคราะห์สารประกอบ I-hydroxyxanthone, LH, และพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารด้วยเทคนิค IR 1H-NMR และ 13C-NMR spectroscopy สารที่สังเคราะห์ได้นำมาเป็นลิแกนด์ ในการเกิดเป็นสารประกอบโคออร์ดิเนชันกับไอออนของ Cr3+ Mn2+ Cu2+ Zn2+ Fe3+ และ VO 2+ จากการศึกษาอัตราส่วนของไอออนโลหะกับนิแกนด์ ด้วยเทคนิคยูวี-วิสิเบิล สเปกโตรสโคปี พบว่า Zn2+ Cu2+ และ Fe3+ จะเกิดการโคออร์ดิชันกับลิแกนด์ในอัตราส่วนของ M:L เป็น 1:2 และคำนวณค่าคงที่ความเสถียร (log ß2 ) ของสารเชิงซ้อนโดยวิธี Non-linear least square ได้เท่ากับ 8.80, 8.69 และ 8.76 ตามลำดับ จากสเปกตรัมของ IR ของของแข็งที่ได้จากปฏิกิริยาระหว่างลิแกนด์กับไอออนของโลหะ Cr3+ Mn2+ Cu2+ Zn2+ Fe3+ และ VO 2+ แสดงให้เห็นว่า CR3+ Cu2+ Zn2+ และ Fe3+ สามารถเกิดการโคออร์ดิชันกับลิแกนด์ I-hydroxyxanthone ได้ และคาดว่าสารประกอบที่สังเคราะห์ได้ของ Zn2+ และ Cu2+ จะมีสูตรเป็น [ML2 (H2O)2 ] สำหรับของไอออนโลหะ Cr3+ และ Fe3+ จะมีสูตรเป็น [ML2 (H2 O)2 CIO4 The ligand, I-hydroxyxanthone ; LH, was synthesized and characterized by IR, 1 H-NMR and 13 C-NMR spectroscopy. The stoichiometry between metal ions, Cr3+ Mn2+ Cu2+ Zn2+ Fe3+ VO 2+ , and the ligand were carried out by UV-Vis spectroscopy. Evidently, the stoichiomethric compositions of Zn2+ , Cu2+ , Fe3+ determined by using Non-linear least square method are 8.80, 8.69 and 8.76, respectively. The solids, obtained from the reactions of the metal ions and the ligand, were characterized by IR spectra shown that Cr3+ , Cu2+ , Zn2+ , Fe3+ canbe formed as complexes with I-hydroxyxanthone. The structure formula of the complexes of Zn2+ and Cu2+ cuond be expected as ML2 .2H2 O (M=Zn2+ , Cu2+ ; L= ligand). Whereas, the formula of the complexes of Cr3+ and Fe3+ could be [ML2 (H2O)¬2]CIO4 (M= Cr3+ , Fe3+). | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เบาหวาน - - การป้องกันและควบคุม - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สารประกอบโครเมียม - - การสังเคราะห์ - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สารประกอบโคออร์ดิเนชั่น - - การสังเคราะห์ - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | อินซูลีน - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การสังเคราะห์สารประกอบโคออร์ดิเนชันของโครเมียม แมงกานีส ทองแดง สังกะสี เหล็ก และวานาเดียม กับอนุพันธ์ของแซนโทนเพื่อใช้เป็นอินซูลินเทียม. | th_TH |
dc.title.alternative | Syntheses of Cr, Mn, Cu, Zn, Fe and V coordination compounds with xanthone derivative ligand for using as insulin mimic. | en |
dc.type | งานวิจัย | |
dc.year | 2553 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น