กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/895
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกรประภา เครือวัลย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:50Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:50Z
dc.date.issued2543
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/895
dc.description.abstractจากการทดลองแยกเชื้อบักเตรีที่สามารถย่อยสลายสารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน จากตัวอย่างน้ำทะเลบริเวณชายฝั่ง พบว่าบักเตรีส่วนใหญ่สูญเสียความสามารถในการเจริญเติบโตและย่อยสลายสารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนหลังจากการถ่ายเชื้อครั้งที่ 2 หรือ 3 โดยมีบักเตรีเพียง 10 ชนิดเท่านั้นที่มีคุณสมบัติตามต้องการหลังจากผ่านการถ่ายเชื้อครบ 7 ครั้ง เมื่อนำบักเตรีทั้ง 10 ชนิดมาทดสอบความสามารถในการย่อยสลายสารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน พบว่า บักเตรีหมายเลข 2.3 มีความสามารถในการย่อยสลายสูงที่สุดคือ 90% รองลงมาคือ บักเตรีหมายเลข 2.6 2.2 และ 9.1 มีความสามารถในการย่อยสลาย 65 57.5 และ 55% การศึกษาผลของความเข้มข้นของสารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนต่อการย่อยสลายพบว่า บักเตรีทั้ง 10 ชนิด มีความสามารถในการย่อยสลายลดลง เมื่อความเข้มข้นของสารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนมากกว่า 200 พีพีเอ็ม เมื่อนำบักเตรีทั้ง 10 ชนิดมาจำแนกชนิด โดยศึกษา การย้อมสีแกรมและปฏิกิริยาทางชีวเคมีพบว่า เป็นบักเตรีในกลุ่ม Pseudomonas 4 ชนิด กลุ่ม Alcaligenes 2 ชนิด กลุ่ม enterobacter 2 ชนิด และกลุ่ม Aeromonas และ Acinetobacter กลุ่มละ 1 ชนิดth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำทะเล - - การวิเคราะห์ - - วิจัยth_TH
dc.subjectปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนth_TH
dc.subjectแบคทีเรีย - - การจำแนกth_TH
dc.subjectแบคทีเรีย - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
dc.titleการย่อยสลายสารปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนโดยบักเตรีทะเลที่มีความสามารถทนเค็มซึ่งแยกได้จากชายฝั่งทะเลตะวันออกของอ่าวไทยth_TH
dc.title.alternativeBiodegradation of petroleum hydrocarbon by the marine bacteria isolated from the eastern gulf of Thailanden
dc.typeResearch
dc.year2543
dc.description.abstractalternativeHydrocarbon degrading bacteria were isolated from seawater samples.The samples were inoculated and cultivated in medium containing 200 ppm hydrocarbon as a sole source of carbon and energy. The serial transfer procedure was used to establish bacteria capable of growth and degrading hydrocarbon compound. Most cultures lost their growth and degradability after the second or third transfer. Only 10 isolates were found to be able to degrade the hydrocarbon compound during seven serial transfers. They were subsequently studied by their ability to degrade and grow on the hydrocarbon compound. Isolate #2.3 gave the highest degradation (90% removal). Isolate #2.6, 2.2 and 9.1 showed 65,57.5 and 55% removal, respectively. The effect of various hydrocarbon concentration (0, 100, 200, 300 and ppm) on degradability of the bacterial isolates were examined. The hydrocarbon degradation by the isolates decreased with increasing hydrocarbon concentration (more than 200 ppm). these bacterial cultures, therefore, are a promising candidate for development of effective cultures for hydrocarbon degradationen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_195.pdf500.6 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น