กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/88
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เอกพงศ์ ประสงค์เงิน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:47Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:47Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/88 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะภาษาในจดหมายโต้ตอบระหว่างสมเด็จ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ กับพระยาอนุมานราชธน ในหนังสือบันทึกเรื่องความรู้ต่างๆรวม 5 เล่ม โดยศึกษาเฉพาะลายพระหัตถ์ และจดหมายกราบทูล ที่มีโต้ตอบกันนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2479-2486 จำนวน 437 ฉบับ ผลการศึกษาพบว่า 1. โครงสร้างของภาษาในการขึ้นต้นและลงท้ายจดหมาย สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงใช้คำขึ้นต้นลายพระหัตถ์ 6 รูปแบบ และคำลงท้ายลายพระหัตถ์ 2 รูปแบบ พระยาอนุมานราชธนใช้คำขึ้นต้นจดหมายกราบทูล 4 รูปแบบ และใช้คำลงท้ายจดหมายกราบทูล 4 รูปแบบ 2.การเชื่อมโยงความ ทั้งสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และพระยาอนุมานราชธน ใช้ประเภทการเชื่อมโยงความที่เหมือนกัน 3 ประเภท คือ การใช้คำเชื่อม การอ้างอิง และการละ 3. ลักษณะภาษาที่แสดงการเปลี่ยนหัวเรื่อง ทั้งสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และพระยาอนุมานราชธน ใช้ลักษณะภาษาที่แสดงการเปลี่ยนหัวเรื่อง ที่เหมือนกัน 3 ประเภท คือ การใช้วลี การใช้ตัวเลข และการใช้คำ | th_TH |
dc.description.sponsorship | รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากเงินรายได้ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย - - การใช้ภาษา - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย - - การใช้ภาษา | th_TH |
dc.subject | หนังสือ - - การใช้ภาษา | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | การศึกษาการใช้ภาษาของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และพระยาอนุมานราชธน ในหนังสือบันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ | th_TH |
dc.type | Research | |
dc.year | 2545 | |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the usage and style of language in the correspondence between Prince Narisaranuwatiwong and Phya Anumanrajadhon. The correspondence has been records in 5 volumes of books called "Records of the Variety of Knowledge". However, the research studies only the correspondence between 2479-2486 B.E. which includes 437 letters. The results of the study are as follows: 1.The usage of the salutation and complimentary close. The study finds that whereas Prince Narisaranuwatiwong used six types of the salution and two types of complimentary close. Phya Anumanrajadhon used four types of the salutation and four types of the complimentary close. 2.Cohesion As for cohesion it finds that both Prince Narisaranuwatiwong and Phya Anumanrajadhon used three same kinds of cohesive devices. These devices included conjunctions, references, and ellipsis. 3. Topic Shift the study of topic shift finds that both Prince Narisaranuwatiwong and Phya Anumanrajadhon use three same kind of markets to indicate topic shift. Those markets are phrases, enumerations and usage of words. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2545_015.pdf | 10.22 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น