กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8852
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกิจฐเชต ไกรวาส
dc.contributor.advisorธนวัฒน์ พิมลจินดา
dc.contributor.authorภูริชา ฉวีวรรณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:44Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:44Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8852
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตําบลท่าไม้ อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาครและเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตําบลท่าไม้ จําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ความถี่ในการรับรู้ข่าวสารผ่านทางบอร์ดประชาสัมพันธ์ความถี่ในการรับรู้ข่าวสารผ่านเสียงตามสายและความถี่ในการรับรู้ข่าวสารผ่านทางเว็บไซด์โดยการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลท่าไม้ จํานวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการศึกษาพบว่าความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตําบลท่าไม้ อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาครโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่ประชาชนมีความคิดเห็นว่ามีคุณภาพการประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับดีมากที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง คือ ด้านช่องทางเสียงตามสายรองลงมา คือ ด้านสาร ด้านผู้ส่งสาร ด้าน ผู้รับสาร ด้านช่องทาง Website (ภาพกิจกรรม/ ข่าวประชาสัมพันธ์) และอันดับสุดท้าย คือ ด้านช่องทางบอร์ดประชาสัมพันธ์ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตําบลท่าไม้อําเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ความถี่ในการรับรู้ข่าวสารผ่านทางบอร์ดประชาสัมพันธ์ ความถี่ในการรับรู้ข่าวสารผ่านเสียงตามสายและความถี่ในการรับรู้ข่าวสารผ่านทางเว็บไซด์ต่างกัน มี ความคิดเห็นต่อการให้บริการด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตําบลท่าไม้แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ.05.
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลท่าไม้ -- การประชาสัมพันธ์
dc.subjectประชาชน -- ทัศนคติ
dc.subjectการประชาสัมพันธ์
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.titleคุณภาพการให้บริการด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าไม้ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
dc.title.alternativeQulity of services on public reltions by thmi subdistrict dministrtive orgniztion, mphoe krthumbn, smutskorn province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe aims of this research were to study the opinions of people regarding the quality of service on public relation by Thamai subdistrict administrative organization, and also compare the opinions of people on the quality of service classified by gender, age, educational level, occupation as well as frequency of receiving information via bulletin boards, public broadcastings and websites. The representative samples used in this study were the people who live in Thamai subdistrict administrative organization. Data collection from 400 people was obtained by using simple random sampling method and the questionnaire as a tool. Statistical analyses such as frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA were calculated. The results found that overall opinions of people regarding the quality of service on public relation by Thamai subdistrict administrative organization, Amphoe Krathumban, Samutsakorn province were at a high level. When considering in each aspect: the best quality of service on public relation was public broadcasting, the website was the second alternative to receive information, and the last was the bulletin board. As compared with the different gender, age, educational level, occupation as well as frequency of receiving information via bulletin boards, public broadcastings and websites, the opinions of people showed statistical significance of difference to the quality of service on public relation of Thamai subdistrict administrative organization (p<0.05).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
61930029.pdf2.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น