กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8760
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกาญจนา บุญยัง
dc.contributor.authorน้ำทิพย์ นาคมาโนช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-06-06T04:21:07Z
dc.date.available2023-06-06T04:21:07Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8760
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้ามาประกอบอาชีพของแรงงานก่อสร้างชาวกะเหรี่ยงในชุมชนกีบหมูเขตคลองสามวากรุงเทพมหานครผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ แรงงานต่างชาติชาวกะเหรี่ยงที่เข้ามาประกอบอาชีพก่อสร้าง จำนวน 10 คน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยผลักดันจากประเทศต้นทาง ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ: หางานทำได้ยากค่าจ้างแรงงานต่ำรายได้ไม่มีความมั่นคงด้านสังคม: การใช้ชีวิตเป็นไปอย่างยากลำบาก ระบบสาธารณูปโภคยังไม่ได้รับการพัฒนา ด้านการเมือง: รัฐบาลเมียนมาร์ไม่เปิดโอกาสให้ครอบครองที่ดิน ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิต ปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลเมียนมาร์กับชนกลุ่มน้อยชาวกะเหรี่ยง (2) ปัจจัยดึงดูดจาก ประเทศปลายทางได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ: มีงานให้เลือกเยอะได้ค่าตอบแทนสูงกว่ามีสวัสดิการมีรายได้ที่มั่นคงด้านสังคม: การใช้ชีวิตในประเทศไทยมีความสะดวกสบายคนไทยมีอุปนิสัยใจคอที่ดีและมีเพื่อนชาวกะเหรี่ยง ด้านการเมือง: การบริหารจัดการแรงงานต่างชาติของภาครัฐยังไม่เป็นระบบ (3) ปัจจัยส่งเสริม ได้แก่ การชักชวนจากคนในครอบครัว ญาติและเพื่อนที่เข้ามาทำงานในไทยการเดินทางสะดวกมีพรมแดนติดต่อกันจึงมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางน้อย มีความเข้าใจภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร มีโอกาสในการเปลี่ยนสัญชาติเป็นสัญชาติไทย ทั้งนี้มีปัจจัยค้นพบเพิ่มเติมคือ ความสนใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอันเป็นปัจจัยส่งเสริมที่สามารถดึงดูดให้แรงงานต่างชาติเข้ามาในประเทศไทยเพื่อเรียนรู้แนวทางการดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ เป็นปัจจัยส่งเสริมที่ผลักดันให้แรงงานต่างชาติย้ายกลับประเทศต้นทาง เพื่อนำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไปดำรงชีวิต
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectแรงงานต่างด้าว
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.titleการเข้ามาประกอบอาชีพของแรงงานก่อสร้างชาวกะเหรี่ยงในชุมชนกีบหมู เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร
dc.title.alternativeEntering for job of kren construction workers to keepmoo community, Klong Srmw, Bngkok
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study entering for job of Karen construction workers to Keepmoo community, Klong Sarmwa, Bangkok. The samples were 10 Karen construction workers. This research was qualitative. The research instrument was semi-structured interview forms. The results of the research were as follows: 1) The push factors from country of origin were economic factors consisting of hard to land a job, low wages, and unstable income. Social factors consisted of hard life and basic infrastructure was not developed for convenient living. Political factors consisted of the government of Myanmar not allowing possession of land, no freedom, and conflicts between the government of Myanmar against the Karen minority. 2) Pull factors from the destination country were economic factors consisting of wide choice of jobs, easy to find work, higher income, availability of welfare, and stable income. Social factors consisted of convenient living in Thailand, good habits of Thai people, and having Karen friends. Political factors consisted of public sector management of Thailand about immigrant workers is not complete and unstable. 3) Support factors consisted of persuasion from family or relatives or friends who informed that the quality of life could be better, convenient transportation, land border crossings, low cost of transportation, understanding the language for communication, and a chance to change nationality to Thai. In addition, the results of the research found more factors about interest in the philosophy of sufficiency economy which were support factors that could attract Karen construction workers to enter Thailand in order to learn about the philosophy of sufficiency economy. This was also a support factor to push Karen construction workers back to their original country, because they would like to take the philosophy of sufficiency economy to use in their daily lives.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59930072.pdf1.47 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น