กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8726
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุณี หงษ์วิเศษ | |
dc.contributor.author | กนกวรรณ กิจสวัสดิ์โอสถ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:21:00Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:21:00Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8726 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ปร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเป็นการศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา จำนวน 205 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตราฐาน ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ที่เป็นปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาเป็น ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านการเติบโตในหน้าที่การงาน และด้านความก้าวหน้า 2. ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ที่เป็นปัจจัยธำรงรักษาในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา เป็นด้านสถานภาพ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านสภาพการทำงาน ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านความมั่นคงในงาน ด้านนโยบายการบริหาร ด้านการปกครองบังคับบัญชาและด้านเงินเดือน 3. ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา จำแนกตามเพศ พบว่า บุคลากรเพศชายและเพศหญิงมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน 4. ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา จำแนกตามอายุ รายได้ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประเภทบุคลากร พบว่า บุคลากรที่มีรายได้แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | |
dc.subject | เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา | |
dc.title | แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา | |
dc.title.alternative | bWork motivtion mong personnel work for chchoengso town municiplity | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to examine and compare a level of work motivation among personnel working for Chachoengsao Municipality. The population participating in this study was 205 employees working for Chachoengsao Municipality. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, mean, standard deviation, and a test of One-Way ANOVA. The results of the study were as follows: 1. It was shown that the level of work motivation among employees working for Chachoengsao Municipality was at a high level. Specifically, the aspect of work motivation in relation to the type of work was rated at the highest level, followed by the aspects of acceptance and respect, responsibility, work achievement, and job advancement, respectively. 2. It was found that the aspect of work motivation relating to maintenance factors was found at a high level. The subjects rated the factor relating to the relationship with co-workers with the highest mean score, followed by the factors of personal condition, work condition, relationship with supervisors, job security, administrative policy, quality of supervision, and salary, respectively. 3. Based on the comparison of work motivation as classified by gender, it was shown that there was no statistically significant difference in the level of work motivation between male and female subjects. 4. Based on the comparisons of the subjects’ age, income, marital status, educational level, and type of personnel, it was shown that there was a statistically significant difference in the level of work motivation among the subjects who had different amount of income at a significant level of .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59930020.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น