กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8722
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา บุญยัง | |
dc.contributor.author | กิตติศักดิ์ บุญกลิ่น | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:20:59Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:20:59Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8722 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการสร้างอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูสำคัญ 3 กลุ่ม คือ เกษตรกรผู้ประกอบอาชีพประมงและตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลบางแตน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการก่อสร้างโครงการแล้วเสร็จพบผลกระทบด้านเศรษฐกิจ คือ ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้น จำนวนรอบ/ จำนวนครั้งในการประกอบอาชีพทำนานั้นยังคงเดิม คือ 2 รอบต่อปี แต่สำหรับการเลี้ยงกุ้งเลี้ยงเพิ่มขึ้นได้ถึง 3 รอบต่อปีเกษตรกรและชาวประมงผู้เลี้ยงกุ้งบางราย มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ทั้งเกษตรกรและผู้ประกอบอาชีพประมงมีผลกำไรเพิ่มมากขึ้น และสามารถชำระหนี้สินได้ในอัตราที่เพิ่มขึ้น โดยรวมจึงถือว่า เศรษฐกิจในพื้นที่ ฯ ดีขึ้น สังเกตได้จากรายได้ของผู้ประกอบการที่เพิ่มมากขึ้น และภาวะการจับจ่ายใช้สอยคล่องตัวมากขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากประชาชนในพื้นที่สามารถประกอบอาชีพได้เต็มกำลังการผลิต ทำให้รายได้เพิ่มขึ้น ผลกระทบทางด้านสังคมหลังการก่อสร้างโครงการแล้วเสร็จ พบว่าไม่ค่อยมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่เท่าใดนักเนื่องด้วยพื้นที่ ฯ อยู่ไกลจากบริเวณก่อสร้างโครงการทำให้ไม่เกิดการย้ายถิ่นฐานหรือรูปแบบการประกอบอาชีพ ปัญหาการแย่งน้ำถูกขจัดไปโดยสิ้นเชิงมุมมองในการประกอบอาชีพของคนในพื้นที่เกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรมดีขึ้น เนื่องจากมีน้ำใช้ในการผลิตอย่างแน่นอน นอกจากนี้ การปล่อยน้ำตามระบบอย่างต่อเนื่องช่วยแก้ปัญหาน้ำเค็มหนุนเข้าพื้นที่ ฯ ส่งผลให้พื้นที่ตำบลบางแตนกลายเป็นพื้นที่น้ำจืดตลอดปีมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกการเลี้ยงสัตว์ และทำประมงอีกทั้งสามารถลดความขัดแย้งเกี่ยวกับเรื่องน้ำของคนในพื้นที่ได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | นิเวศวิทยาอ่างเก็บน้ำ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป | |
dc.title | ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา : กรณีศึกษา ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี | |
dc.title.alternative | Economic nd socil impct of nruebodindrchint reservoir: cse study of bngtn sub-district, bnsng district, prchin buri province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to examine economic and social impacts resulted from the construction of Naruebodindrachinta Reservoir. The data were collected via an in-depth interview technique. The key informants comprised three groups, including agriculturalists, fishermen, and representatives from Bangtan Sub-district Administrative Organization. A content analysis technique was used to analyze the collected data. The results of the study revealed that after the construction of the reservoir, in terms of economic impact, there was an increase of income among agriculturalists despite the same number of rice farming, which was twice a year. Also, regarding prawn farming, it could be done three times a year, resulting in an increase of hiring rates and income among agriculturalists and prawn-raising farmers. This helped to pay the entrepreneurs’ debts. In general, the economic situation in the area was better, resulting from an increase of the entrepreneurs’ income leading to a better flow of money spending among them. This resulted from the fact that people in the area had higher productivity and gained more income. Regarding social impacts, the construction of the reservoir barely had effects on the people. This was because these people lived far away from the construction site, hindering their migration or change of their ways of earning their living. The problem of water shortage was completely eliminated. The perception among people in the area about agriculture was better, resulting from the fact that there was plenty of water for agricultural use. Also, the systematic release of water helped to solve the problem of salty water in the area, making Bantan become an area with fresh water all year round and is arable and suitable for agriculture, animal raising, and fisheries. Finally, the construction of the reservoir helped to solve the conflicts of water among people in the area. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารทั่วไป | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59930120.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น