กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8720
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุษณากร ทาวะรมย์ | |
dc.contributor.author | รุ่งนภา ช่างไม้ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:20:59Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:20:59Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8720 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของพนักงานเมืองพัทยาที่มีต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ด้านการจัดหาและการบรรจุแต่งตั้งทรัพยากรมนุษย์ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านการให้รางวัลทรัพยากรมนุษย์และด้านการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์และเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของพนักงานเมืองพัทยาต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสังกัดเมืองพัทยา จำนวน 318 คน สุ่มโดยการหาความน่าจะเป็นและใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของ Scheffe ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจของพนักงานเมืองพัทยาที่มีต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (3.77) โดยมีด้านการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับมาก เป็นอันดับ 1 (4.55) รองลงมา คือ ด้านการจัดหาและการบรรจุแต่งตั้งทรัพยากรมนุษย์ (4.20) ด้านการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (3.77) ด้านการให้รางวัลทรัพยากรมนุษย์ (3.48) และด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (2.86) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า พนักงานเมืองพัทยาที่มีเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พนักงานเพศชายมีความพึงพอใจมากกว่าพนักงานเพศหญิง พนักงานที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีมีความพึงพอใจมากกว่าพนักงานที่มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี ตามลำดับ พนักงานที่มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 5 ปี มีความพึงพอใจมากกว่า พนักงานที่มีประสบการณ์ 5-10 ปีและพนักงานที่มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี ตามลำดับ โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหารความเสี่ยง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ | |
dc.title | ความพึงพอใจของพนักงานเมืองพัทยาที่มีต่อการหบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเมืองพัทยา | |
dc.title.alternative | Stisfction on ptty City officer bout humn resource mngement | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were to satisfaction on Pattaya city officer about human resource management in 5 aspects: 1) Human resource planning 2) Supply and human resource placement 3) Human resources development 4) Human resources award and 5) Human resources retention. To compare the level of satisfaction on Pattaya city officer about human resource management by sex, educational and experience. The sample is Pattaya city officer 318 subjects. Random sampling by probability and the instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical test used to analyze the data include percentage, means, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and Scheffe's method with a pre-set of a significant level at .05. The findings indicated that the satisfaction on Pattaya city officer about human resource management in 5 aspects at a high level. Specifically, the human resources retention was rated the highest, (4.55) followed by the supply and human resource placement (4.20), human resource planning (3.77), human resources award (3.48) and human resources development (2.86). The results of the hypothesis testing showed that: Pattaya city officer had sex, educational and experience were different. There were the statistically about human resource management were different at significant level at .05. That is, males were more statistically than females. Officer with undergraduate degree they were more statistically than officer with bachelor degree and higher than bachelor respectively. Officer with less than 5 years’ experience were more statistically than experienced officer 5-10 years and Officer with more than 10 years of experience at significant level at .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารทรัพยากรมนุษย์ | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59930117.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น