กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8709
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุปราณี ธรรมพิทักษ์ | |
dc.contributor.advisor | ชินรัตน์ สมสืบ | |
dc.contributor.author | ฐิติพันธ์ จิตต์เจริญ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:14:45Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:14:45Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8709 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่อง “ความต้องการในการพัฒนาตนเองของข้าราชการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ” ในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการในการพัฒนาตนเองใน 6 ด้าน คือ ด้านความรู้และทักษะเกี่ยวกับงานในหน้าที่ ด้านการบริหารงาน ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านภาษาอังกฤษ และด้านนันทนาการ และเพื่อเปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาตนเอง เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ชั้นยศ ตำแหน่งหน้าที่งาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานประชากรที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 120 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ มีค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย, มีอายุระหว่าง 46-55 ปี, มีระดับการศึกษาปริญญาตรี, มีรายได้ต่อเดือน 10,000-20,000 บาท, มีชั้นยศ จ่าสิบตรี-จ่าสิบเอก, มีตำแหน่งหน้าที่, เป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ, มีระยะเวลาการปฏิบัติงานมากกว่า 25 ปี โดยมีความต้องการในการพัฒนาตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านนันทนาการ รองลงมาคือ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ และด้านความรู้และทักษะเกี่ยวกับงานในหน้าที่, ด้านคุณธรรมและจริยธรรม, ด้านภาษาอังกฤษ และด้านการบริหารงาน มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ผลการเปรียบเทียบพบว่า ความต้องการในการพัฒนาของข้าราชการวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ข้าราชการเพศหญิง, ข้าราชการอายุต่ำกว่า 25 ปี ข้าราชการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย, ข้าราชการที่มีรายได้ต่อเดือน น้อยกว่า 10,000 บาท, ข้าราชการชั้นยศ พันตรี-พันเอก, ข้าราชการที่เป็นผู้บังคับบัญชาระดับกลาง และผู้บังคับบัญชาระดับต้น, ข้าราชการที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6-10 ปี เป็นผู้มีความต้องการในการพัฒนาตนเองมากที่สุด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ข้าราชการ -- การพัฒนาตนเอง | |
dc.subject | การพัฒนาตนเอง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป | |
dc.title | ความต้องการในการพัฒนาตนเองของข้าราชการ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ | |
dc.title.alternative | Needs fot self-development mong government officers working for Thilnd ntionl defence college, ntionl defence studies institute | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quantitative study was to examine needs for self-development among government officers in six aspects, including knowledge and skills related to work and duty, administration, ethics and morals, information technology, the English language, and recreation. Also, this study aimed at comparing the needs for self-development as classified by gender, age, educational level, amount of monthly income, work rank, work position, and work length. The population of this study was 120 government officers. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, mean, standard deviation, and mean comparison. The results of this study revealed that the majority of the government officers were male, aged 46-55, holding a bachelor's degree, having an amount of monthly income of 10,000-20,000 baht, holding working ranks of a sergeant major to a sergeant major first class, working at a practitioner level with a work length more than 25 years. Also, it was shown that this population expressed their needs for self-development at a high level. Specifically, the aspect of self-development in relation to recreation was rated with the highest mean score, followed by the aspects of knowledge and skills related to work and duty, information technology, ethics and morals, the English language, and administration, respectively. Based on the results from the comparisons, it was shown that the government officers who were female, aged lower than 25, holding a high school certificate, having an amount of monthly income less than 10,000 baht, holding a working rank of a major to a colonel, and having a working position of a middle level of administration with a work length of 6-10 years, expressed their needs for self-development at the highest level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารทั่วไป | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59930150.pdf | 4.64 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น