กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8708
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุปราณี ธรรมพิทักษ์
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ
dc.contributor.authorเอกสิทธิ์ บุญญารักษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-06-06T04:14:45Z
dc.date.available2023-06-06T04:14:45Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8708
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “คุณภาพชีวิตการทำงานของนายหทารประทวน ศูนย์การบินทหารบก” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหารประทวน ศูนย์การบินทหารบก และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหารประทวน ศูนย์การบินทหารบก จำแนกตาม อายุ ชั้นยศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุราชการ รายได้ และจำนวนสมาชิกในครอบครัว โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 300 นาย โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหารประทวน ศูนย์การบริทหารบก ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 3.00 โดยพบว่า ด้านที่มีคุณภาพชีวิตในการทำงานสูงสุด คือ ด้านลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม รองลงมาคือ ด้านการบูรณาการทางด้านสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ด้านความมั่นคงในการทำงานและความก้าวหน้าในงาน ด้านโอกาสที่ได้รับการพัฒนาและใช้ความสามารถของบุคคล ด้านสภาพการทำงานที่มีความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น ๆ และด้านประชาธิปไตยในองค์การ ส่วนด้านที่มีคุณภาพชีวิตการทำงานต่ำสุดคือด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างคุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหารประทวน ศูนย์การบินทหารบก ทั้ง 8 ด้าน จำแนกตาม อายุ ชั้นยศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุราชการ รายได้ และจำนวนสมาชิก พบว่า ไม่มีผลทำให้คุณภาพชีวิตการทำงานของกำลังพลแตกต่างกัน สำหรับข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยคือ ด้านการให้สิ่งตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ขอเสนอให้มีการพิจารณาในเรื่องการกำหนดนโยบายให้นายทหารชั้นประทวนมีการประกอบอาชีพเสริมรายได้ และเพิ่มสวัสดิการตามความเหมาะสม จะเป็นการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงาน ด้านโอกาสในการพัฒนาขีดความสามารถในการทำงาน ขอเสนอให้มีการพิจารณาในเรื่องการกำหนดนโยบายที่ชัดเจนในการประชุม ชี้แจง การสัมมนา เพื่อถ่ายทอดความรู้ ข่าวสาร วิทยาการใหม่ ๆ จากผู้บังคับบัญชาหรือผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่าง ๆ และด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคม ขอเสอนให้มีการพิจารณาในเรื่องการกำหนดนโยบายการบริการประชาชนเป็นนโยบายหลักของหน่วยงานเพื่อให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่น
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectทหารชั้นประทวน -- การทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของนายทหารประทวน ศูนย์การบินทหารบก
dc.title.alternativeQulity of work life on non-commissioned officer, the rmy vition center
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study quality of work life of non-commissioned officer under the Army Aviation Center and to compare the difference of quality of working life classified by educational level, age, years of service, marital status, income, rank, and member of family. The population of this study was 300 non-commissioned officers. The data were collected through questionnaires and then analyzed by descriptive statistics which consisted of frequency, percentage, mean, and standard deviation. The quality of work life (QWL) of non-commissioned officer under the Army Aviation Center was totally at a fair level. Considering each aspect individually, it was found that the highest aspect of QWL was social relevance of work life, social integration in the work organization, opportunity to growth and security, opportunity to use and develop human capacities, safe and healthy working conditions, work total life span and adequate and fair compensation respectively. In terms of Collaboration and Interpersonal Relationship, non-commissioned officers had an opinion that, in case of problems in working, non-commissioned officers might consult their Colleagues and Superiors. In terms of Balancing of Working and Personal Life, non-commissioned officers had an opinion that non-commissioned officers had a free time available for their own and family during holidays. In terms of Privacy Right, non-commissioned officers had an opinion that their Superiors did not interfere with non-working-related personal matter. In terms of Opportunity of Working Capacity Development, non-commissioned officers had an opinion that Superiors gave advice to and taught non-commissioned officers how to solve the problems when they faced troubles and difficulties during the operation. In terms of Social Benevolence, non-commissioned officers had an opinion that their organization collaborated and coordinated with other organization for community activities and public benefit. In terms of Sufficient and Fair Remuneration, non-commissioned officers had an opinion that non-commissioned officers obtained desirable and fair remunerations for this career.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทั่วไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59930144.pdf3.41 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น