กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8666
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เบญญาดา กระจ่างแจ้ง | |
dc.contributor.author | สุพัตรา แสงสี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:12:07Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:12:07Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8666 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรที่มีผลต่อสภาพปัญหาและความต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกมันสําปะหลังในจังหวัดสระแก้ว 2) เพื่อศึกษากระบวนการขั้นตอนในการผลิตมันสําปะหลังที่มีผลต่อสภาพปัญหาและความต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกมันสําปะหลังในจังหวัดสระแก้ว และ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกมันสําปะหลังในจังหวัดสระแก้ว ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยเก็บข้อมูลจากการการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) กลุ่มเป้าหมายแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย เกษตรกรผู้ปลูกมันสําปะหลัง จํานวน 16 คน ตัวแทนลานรับซื้อผลผลิตของเกษตรกรจํานวน 2 คน และเจ้าหน้าที่สํานักงานเกษตรจังหวัดผู้รับผิดชอบ งานที่เกี่ยวข้องจํานวน 2 คน รวมทั้งหมด 20 คน ผลการวิจัยพบว่า พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่เป็นของเกษตรกรเอง มีพื้นที่ตั้งแต่ 30-300 ไร่ ประสบการณ์ในการปลูกมันสําปะหลังตั้งแต่ 6-30 ปี จํานวนแรงงานด้านการเกษตรส่วนมากใช้แรงงาน ตั้งแต่ 5-20 คน ใช้พันธุ์มันสําปะหลัง 81 เป็นส่วนมากเพราะให้ผลผลิตหัวเยอะมากกว่าพันธุ์อื่น การเตรียมพื้นที่มีการไถดะไถแปรก่อนใส่ปุ๋ยรองพื้นเช่นปุ๋ยขี้เป็ด ขี้ไก่หรือปุ๋ยเคมีตากแดด ยกร่องปลูกการเก็บเกี่ยวคือใช้รถไถไถหัวใช้คนงานเก็บขึ้นรถบรรทุกในการขนส่งผลผลิตไปขาย สภาพปัญหาและความต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกมันสําปะหลังคือราคาท่อนพันธุ์ที่มีราคาสูงและไม่สะอาดมีเชื้อราติดมากับท่อนพันธุ์ทําให้เกิดโรคระบาดโรคใบไหม้พบแมลงศัตรูพืชคือเพี้ยไฟ และเพี้ยแป้งระบาด ราคามันที่ตกต่ำการกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง ปัญหาด้านอุทกภัย ภัยแล้ง ปัญหาค่าปุ๋ยค่ายาฆ่าแมลงค่าแรงงาน ด้านการเกษตรที่สูงการส่งเสริมจากภาครัฐไม่ทั่วถึงขาดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสํานักงานเกษตรและไม่เคยเข้ารับการอบรมจากหน่วยงานเกษตรเลยขั้นตอนการเพาะปลูกที่หน่วยงานราชการส่งเสริมให้ปลูก มีความยุ่งยาก ทําตามได้ยากจึงทําตามประสบการณ์ที่มีผู้ประกอบการลานรับซื้อนั้นเห็นว่าคุณภาพของผลิตของเกษตรกรยังไม่ได้คุณภาพเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับที่อื่น อาจเนื่องมาจากดิน พันธุ์และการใช้ปุ้ย ในส่วนของเจ้าหน้าที่ยังมีไม่เพียงพอต่อภาระหน้าที่งานที่มากเกินกําลัง ต้องรับผิดชอบพืชหลายชนิด และรับขึ้นทะเบียนเกษตรกร | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มันสำปะหลัง -- การปลูก | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ | |
dc.subject | มันสำปะหลัง | |
dc.title | ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในเขตพื้นที่จังหวัดสระแก้ว | |
dc.title.alternative | Problems nd needs of cssv frmers in S Keo province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This study was a qualitative research whose objectives were to study 1) social and economic conditions of farmers affecting the problems and needs of cassava farmers in Sa Kaeo Province, 2) production of cassava that affected the problems and needs of cassava growers in Sa Kaeo and 3) the problems and needs of cassava growers in Sa Kaeo Province. Purposive sampling was used and data were collected with in-depth interviews. The target groups were divided into 3 groups. The first group consisted of 16 cassava farmers, and the second group consisted of 2 people representing the cassava purchasers. The last group consisted of 2 officers of the Provincial Agriculture Office responsible for cassava plantation. The total of the samples was 20 people. The findings revealed that the most area in which cassava was grown was the farmers’ own land. The land size was 30-300 rais. The experience of cassava cultivation was from 6 to 30 years. The number of most of the agricultural laborers the farmers had was 5-20 workers. Tapioca 81 cultivars were used mainly because they produced more heads than other cultivars. Plowing was the preparation of the land before using fertilizers. Chicken manure, duck manure or chemical fertilizers were used fertilizers. Then, the land was exposed to the sunlight and ridges were plowed. Rotary tillers were used for harvesting. Then the workers loaded the crops into pickup trucks to transport them to sell. The problems and needs of cassava growers were as follows: the high price of cultivars , cultivars contaminated with fungus, disease outbreaks and the blast disease, the spread of Pseudococcidae and pink cassava mealybugs, declining cassava prices, middlemen’s lowering the harvest prices, floods, droughts, fertilizer problems, pesticides, high agricultural labor, lack of promotion from the public sector, lack of information from the Agricultural Office and farmers having never been trained from the Agricultural Office. In addition, the process of cultivation encouraged by the government agencies was so difficult for farmers to follow. Therefore, the farmers used their own experiences. The crop buyers were not satisfied with the quality of the produce because of the substandard soil, cultivars and fertilizers. In the Agricultural Office, there were not enough staff because they were responsible for too many kinds of plants and they were also be responsible for farmer registration | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการสาธารณะ | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59710066.pdf | 4.1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น