กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8663
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเบญญาดา กระจ่างแจ้ง
dc.contributor.authorสาวิตรี พงษ์สะพัง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:12:07Z
dc.date.available2023-06-06T04:12:07Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8663
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทําการศึกษา 1) เพื่อศึกษาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทุนทางสังคมที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง หมู่บ้านคลองอาราง ตําบลบ้านแก้ง อําเภอเมือง สระแก้ว จังหวัดสระแก้ว โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านคลองอาราง จํานวน 400 คน โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน (Multiple Linear Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีระดับมากที่สุด คือ ด้านการมีคุณธรรม รองลงมา ด้านการเรียนรู้ ความเข้าใจ ด้านความพอประมาณ ด้านการเสริมสร้างความมีเหตุผล และด้านการร่วมสร้างภูมิคุ้มกัน ตามลําดับ ผลการวิจัยในเรื่องทุนทางสังคมพบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีระดับมากที่สุด คือ ด้านบรรทัดฐานทางสังคม รองลงมา ด้านความไว้เนื้อเชื่อใจและด้านการสร้างเครือข่ายตามลําดับ และผลการวิจัยในเรื่องการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งพบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีระดับมากที่สุด คือ ด้านวัฒนธรรม รองลงมา ด้านทรัพยากร ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจ ตามลําดับ
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectชุมชน
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subjectทุนทางสังคม
dc.titleแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทุนทางสังคมที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งหมู่บ้านคลองอาราง ตำบลบ้านแก้ง อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว
dc.title.alternativeStrong community development bsed on sufficency economy philosophy nd socil cpitl of Klong Arng villge, Bnkwng subdistrict, Mung Skeo district, Skeo province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study 1) the concepts of sufficiency economy philosophy and social capital that contributed to the strong communityof Klong Arang Village, Ban Kaeng Subdistrict, Mueang District, Sa Kaeo Province. The sample used in the research consisted of 400 people living in Klong Arang Village. The research instrument was questionnaires. The statistics used for data analysis were descriptive statistics, consisting of frequency; percentage; mean; and standard deviation and inferential statistics which was multiple linear regression analysis. The concept of Sufficiency Economy Philosophy was at the highest level. The aspect of moral had the highest. It was followed by learning and understanding. The next aspect was modesty. Next, it was logic creation aspect. The next aspect was immunity respectively. The overall image of social capital was at the highest level. The aspect which was at the highest level was social norms. It was followed by the reliability. Next, the aspect which was networking creation respectively. For the community strength, it was found that the overall community strength was at the highest level. The culture aspect had the highest meanlevel which. It was followed by the resource aspect. Next, the social aspect had. The next aspect was economy respectively
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการสาธารณะ
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59710065.pdf5.13 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น