กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8641
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นุจรี ภาคาสัตย์ | |
dc.contributor.author | วิชุดา ทุเรียนภู่ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:07:10Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:07:10Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8641 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาแนวทางการพัฒนาการสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ที่รองรับการเปลี่ยนแปลงต่อระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกตามความเห็นของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรีโดยในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ผู้ประกอบการ หรือตัวแทน ผู้ประกอบการที่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม จำนวน 16 คน และเจ้าหน้าที่กรมแรงงานในภาคตะวันออก จำนวน 1 คน ผลการวิจัยพบว่า เกณฑ์ในการคัดเลือกผู้สมัครของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน คือ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ใช้ประสบการณ์การทำงานตรงตามตำแหน่งงาน เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกมากที่สุด และใช้ความรู้ ความสามารถของผู้สมัคร ผลการสอบข้อเขียนและผลการสอบปฏิบัติเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกลำดับถัดมาด้วยส่วนอายุและความชำนาญหรือทักษะ ถูกนำมาใช้เป็นเกณฑ์คัดเลือกในบางตำแหน่งงาน เนื่องจากบางตำแหน่งต้องใช้ทักษะหรือความชำนาญในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะช่างและต้องมีการจำกัดอายุเพื่อความเหมาะสมในการปฏิบัคิงานบางตำแหน่ง และพบว่า ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรีส่วนใหญ่ไม่มีนโนบายที่จะปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงวิธีการสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์เนื่องจากเห็นว่า วิธีการรูปแบบเดิมยังสามารถใช้สรรหาผู้สมัครที่มีคุณภาพได้ดีในขณะที่ผู้ประกอบการบางส่วนมีแนวทางการพัฒนาการสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ที่รองรับการเปลี่ยนแปลงต่อระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก คือ การพิจารณาผู้สมัครที่มีความสามารถทางภาษาการเพิ่มช่องทางการสรรหาโดยสรรหาผ่าน สถานศึกษาการส่งเสริมการเรียนรู้หรือการพัฒนาทักษะของพนักงาน การปรับอัตราการค่าจ้างอย่างเหมาะสมตามตลาดแรงงาน การรับแรงงานต่างชาติเข้ามาทำงานเพิ่มขึ้น การเพิ่มทักษะในการสัมภาษณ์ของผู้ที่มีหน้าที่สัมภาษณ์และการวางแผนการสรรหาก่อนมีตำแหน่งว่าง เพื่อให้การสรรหาและคัดเลือกของสถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรีดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและสามารถสรรหาบุคคลได้ตรงตามตำแหน่งที่หน่วยงานต้องการ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การสรรหาบุคลากร | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ | |
dc.title | การศึกษาแนวทางการสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ที่รองรับการเปลี่ยนแปลงต่อเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามความเห็นของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | A guideline study of recruitment nd selection in preprtion for the chnge of estern economic corridor from entrepreneurs in industril section in chonburiprovince | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research attempts to investigate a guideline to develop human recruitment and selection to support the change in Eastern Economic Corridor according to the opinions of entrepreneurs from industrial section in Chon Buri Province. The data were collected from distributing questionnaires and conducting in-depth interviews with 16 representatives of entrepreneurs and one official working in Labor Department in Eastern region. The findings reveal that for the criteria to select candidates of the entrepreneurs from industrial section in Chon Buri Province, to select candidates with direct experience was the most frequently used. Candidates will be considered from their knowledge and ability. Hence, the performance from written and practical test became the second top rank. Age and expert or skill can be the third rank of the criteria for some positions. Expert or skill is required for operational positions, especially mechanic. In addition, some positions limit the age for the appropriateness in the real performance. It was also found that most of the entrepreneurs from industrial section in Chon Buri Province did not have policy to adjust or improve to recruit and select human resources because they found that the current criteria can be used to recruit and select staff well. However, some entrepreneurs have adjusted the criteria to recruit and select human resources by considering candidates with language competency. Also, they seek for candidates through educational institutes, they encourage staff to learn or develop their own skills. The appropriate wage adjustment is also be used. Alien labor rate has also increased. The competency of the interviewers in the job interview needs to be increased. In addition, the plan has to be done before there is a job vacancy in order to maximize the effectiveness in recruit and select the right persons of the entrepreneurs from industrial section in Chon Buri Province | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57710169.pdf | 2.53 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น