กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8622
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บรรพต วิรุณราช | |
dc.contributor.advisor | อิสระ สุวรรณบล | |
dc.contributor.author | พิชญ์วีร์ พลพานิชย์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:07:06Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:07:06Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8622 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การศึกษารูปแบบการพัฒนาสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาวิธีการและรูปแบบการพัฒนาการขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และ (2) เพื่อศึกษาวิธีการการพัฒนาที่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมสินค้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ขอขึ้นทะเบียนที่จะได้มีวิธีการขึ้นทะเบียนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ รวมถึงให้ผู้ที่ขอขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์แล้ว มีวิธีการที่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์สูงสุด ผลการศึกษา พบว่า การพัฒนาสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ประกอบด้วย 5 ด้าน ซึ่งเรียงตามลำดับความสำคัญ คือ วิธีการขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ความสนใจขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ปัจจัยที่ทำให้ขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์สำเร็จ ปัญหาอุปสรรคการขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และสภาพปัจจุบันการบริหารจัดการสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ซึ่งการพัฒนาสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ทั้ง 5 ด้าน ส่งผลต่อรูปแบบการพัฒนาสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ 3 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยการกำหนดนโยบายพัฒนาการส่งเสริมสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์การพัฒนากระบวนการวิธีการและรูปแบบการขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และการสนับสนุนหลังการขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยรูปแบบการพัฒนาสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ทั้ง 3 ด้าน มีปัจจัยแวดล้อมสำคัญของการพัฒนาประกอบด้วย ดังนี้ (1) ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ให้มีการคุ้มครองที่ครอบคลุม (2) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์อย่างถ่องแท้ก่อนการขึ้นทะเบียน (3) ใช้กระบวนการขึ้นทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยใช้นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ (4) สร้างกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ภายในกลุ่มให้เป็นมาตรฐานและยั่งยืน (5) สร้างระบบตรวจสอบควบคุมคุณภาพสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์อย่างมีมาตรฐานสากล (6) ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้คนรู้จักสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ให้มากขึ้นและแพร่หลาย (7) ส่งเสริมให้ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์พัฒนาตนเอง พัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็งและรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น (8) ส่งเสริมให้พัฒนาสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ให้มากที่สุด และ (9) ส่งเสริมให้ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่มีศักยภาพนำสินค้าไปขึ้นทะเบียนในต่างประเทศ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ | |
dc.subject | สินค้า -- มาตรฐาน | |
dc.subject | สินค้า | |
dc.title | รูปแบบการพัฒนาสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ | |
dc.title.alternative | Development of geoegrphicl indiction products model | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The studying of Development of Geographical Indication Products Model aiming at (1) to study the registration method and model of development of geographical indication product and (2) to study the development method that promote the promotion of geographical indication. This study will be beneficial to the applicant to register geographical indication which will have proper and effective registration procedures. Including the applicant who has registered with the geographical indication products will have the method to promote the geographical indication products in a concrete and most beneficial. The results of the study found that the development of geographical indication products consisted of 5 aspects in order of priority, namely, registration method of geographical indication products, interest in registration on geographical indication products, the factors of success registration on geographical indication products, Problem in registration on geographical indication products and current situation on management on geographical indication products. The development of these 5 aspects affects to development of a Model for geographical indication products with 3 aspects, namely, development promotion on policy for geographical indication products, registration development on process and method model for geographical indication products and supporting promotion after registration on geographical indication products. The Guidelines for the development of geographical indication products model shall consist of the following: (1) revise the Geographical Indication Law to cover all aspects and include comprehensive protection (2) promote the public to understand the geographical indication thoroughly before the registration. (3) use the registration process by an expert (4)process geographical indication within the group to be standard and sustainable. (5) use a quality control system for geographical indication products to be international standard (6) promote and disseminate geographical indications more widespread (7) encourage producers or entrepreneurs to develop their own geographical indication products. (8) promote geographical indications development and commercial use as much as possible; and (9) encourage the producers and entrepreneur of potential geographical indication products to carry out for registration in abroad. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การจัดการสาธารณะ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
54870034.pdf | 6.25 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น