กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8617
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเบญญาดา กระจ่างแจ้ง
dc.contributor.authorรัชชานนท์ คงมณี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:02:27Z
dc.date.available2023-06-06T04:02:27Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8617
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิด ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิด ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key informants) คือ กลุ่มธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิด ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการกลุ่มสมาชิกกลุ่ม จำนวน 12 คน ใช้การเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive selection) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสนทนากลุ่ม ให้การวิเคราะห์เนื้อหา (Qualitative research) ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิด ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีรูปแบบการบริหารจัดการคือการใช้ทรัพยากรของท้องถิ่นเอง เป็นไปตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง มีวัฒนธรรมชุมชนเป็นแหล่งภูมิปัญญาและเป็นเอกลักษณ์มีความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน กลุ่มธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิดจะมีการบริหารจัดการแบบไม่เป็นระบบ ไม่มีกติกากลุ่มอย่างชัดเจน แต่อาศัยวัฒนธรรมความผูกพัน และการสร้างศรัทธาเป็นแนวทางการดำเนินการของกลุ่ม มีแนวโน้มขาดทรัพยากรและไม่สามารถใช้วัตถุดิบแหล่งอื่นมาทดแทน เยาวชนในชุมชนไม่ให้ความสนใจต่อการแปรรูปปลาสลิด จำเป็นที่จะต้องให้คนรุ่นใหม่ที่จะสืบทอดต่อไปเห็นความสำคัญของกิจกรรมในชุมชน ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิด ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ คือ กลุ่มธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิดขาดแคลนวัตถุดิบ และขาดแคลนคนรุ่นใหม่ที่จะสืบทอดกิจกรรม ในชุมชน ขาดการสนับสนุนจากภาครัฐและการประชาสัมพันธ์
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectธุรกิจชุมชน -- การจัดการ
dc.subjectปลาสลิด -- การแปรรูป
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subjectธุรกิจชุมชน -- สมุทรปราการ
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนแปรรูปปลาสลิด ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
dc.title.alternativeMngement model pf pngsius fish processing community in bngpl subdistrict, bngphli district smutplkrn province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research had objective to study the management model of Snake Skin Gourami Fish Processing Community in Bang Phli District, Samut Prakan Province. The study was a qualitative research whose key informants were people in the group of the Snake Skin Gourami Fish Processing Community. The group consisted of the total of 12 people who were in the committee or were members of the group. Purposive selection was used, and focus group was used for qualitative data analysis and content analysis (Qualitative Research). The research found that using local resources was the model used by the Snake Skin Gourami Fish Processing Community in Bang Pla Subdistrict of Pli District, Samutprakarn Province. This was based on the theory of sufficiency economy. Community culture was a source of wisdom and identity. There was also mutual courtesy. The management of the Snake Skin Gourami Fish Processing Community business was not-systematic. There were no clear group rules. However, they relied on cultural ties and building faith was a guideline for the operation of the group. There was tendency that resources would run out and there would not be irreplaceable raw materials. Youth in the community did not pay attention to the importance of fish processing community. There was a need that new generation had to inherit the business and understood the importance of community activities. For the factors influencing the management model of Snake Skin Gourami Processing Community in Bang Phli District, Samut Prakan Province, there were the lack of raw materials, the lack of new generations to inherit community activities, and the lack of government support and public relations.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการสาธารณะ
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59710039.pdf2.91 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น