กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8594
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเอกวิทย์ มณีธร
dc.contributor.authorวิริทธิ์พล วชิรเศวตกิจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:00:56Z
dc.date.available2023-06-06T04:00:56Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8594
dc.descriptionงานนิพนธ์ (ร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง สาเหตุการกระทําผิดของผู้ถูกคุมความประพฤติในคดีอาญา กรณีศึกษา สํานักงานคุมประพฤติจังหวัดชลบุรีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุการกระทําผิดของผู้ถูกคุมความประพฤติในคดีอาญา เพื่อเปรียบเทียบสาเหตุการกระทําผิดของผู้ถูกคุมความประพฤติในคดีอาญา โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวมรวบข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 371 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า ผู้ถูกคุมความประพฤติในคดีอาญาส่วนใหญ่เกินครึ่งเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 89.5 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 40.2 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 30.7 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทหรือโรงงาน คิดเป็นร้อยละ 37.7 ส่วนใหญ่มีรายได้ระหว่าง 10,001-15,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 32.6 ส่วนใหญ่ เกินครึ่งเป็นโสด คิดเป็นร้อยละ 57.7 ส่วนใหญ่กระทําผิดคดีเกี่ยวกับพระราชบัญญัติจราจรทางบก คิดเป็นร้อยละ 41.2 ส่วนใหญ่ กระทําความผิดครั้งแรก คิดเป็นร้อยละ 73.9 ส่วนใหญ่บิดามารดาอยู่ด้วยกันคิดเป็นร้อยละ 41.2 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับบิดามารดา คิดเป็นร้อยละ 24.0 ส่วนใหญ่เกินครึ่งได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบไม่เข้มงวดเกินไปแต่ก็ดูแลตลอด คิดเป็นร้อยละ 57.7 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุการกระทําผิด พบว่า เป็นสาเหตุอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.45 เมื่อพิจารณาในรายด้าน พบว่า สภาพแวดล้อมที่อยู่ในชุมชน ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.55 มากที่สุด รองลงมาคือ การคบหาสมาคมกับเพื่อน ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.46 ทัศนคติต่อการกระทําผิด ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.42 และสภาพของครอบครัว ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.38 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ข้อหาในการกระทําผิด จํานวนครั้งที่กระทําผิด ลักษณะครอบครัว บุคคลที่พักอาศัยอยู่ด้วย และลักษณะการเลี้ยงดู อบรมที่ต่างกันมีผลต่อสาเหตุการกระทําผิดของผู้ถูกคุมความประพฤติในคดีอาญาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเป็นไปตามสมมติฐาน ส่วนเพศ อายุ และสถานภาพการสมรสต่างกัน มีสาเหตุกระทําผิดของผู้ถูกคุมความประพฤติในคดีอาญาไม่แตกต่างกันและไม่เป็นไปตามสมมติฐาน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผู้กระทำผิด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม
dc.subjectการสอบสวนคดีอาญา
dc.titleสาเหตุการกระทำผิดของผู้ถูกคุมความประพฤติในคดีอาญากรณีศึกษา สำนักงานควบคุมความประพฤติจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeCuse the probtioner committed the crime on criminl cse, cse study: probtion office, chonburi
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were study the committed crime of probationer in criminal case, A Case Study : Probation Office, Chonburi to compare the causes of the offender's conduct in a criminal case. The Samples for this research were 371 probationers. Data statistics analysis was using average (mean) and percentage. Research findings were as follows: 1. Most of the samples more than half were male were 89.5% 2. Age ranges 21-30 were 40.2% 3. Graduated from lower secondary education was 30.7 % 4. Used to work in company or factory beforebeing prohibited was 37.7%. 5. Income per month between 10.001- 15,000 Baht was 32.6% 6.Single in marital status was 57.7% 7. Violated the road traffic act was 41.2% 8.First time of committed crime was 79.3% 9.Family’s status stayed with parents was 41.2% 10.Stayed with spouse was 24.0% 11.Family background which parents was not too strict but kept taking care was 57.7% The analysis of data on causes of committed was found at a moderate level, mean of 2.45. In each case, the environment in the community was 2.55, followed by the association with the peers. The mean of 2.46 attitudes toward committed was 2.42 and the family condition was 2.38. The results of the hypothesis testing showed that the level of occupation, education, income, charges in the committed, family background, people which used to living with and the different types of raising were found to have a significant impact on the causes of committed crime at .05 level, and were follow with hypothesis. The hypothesis about sex, age and marital status showed causes of committed crime were are not different and do not follow the hypothesis
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารงานยุติธรรมและสังคม
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920176.pdf3.69 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น