กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8593
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เอกวิทย์ มณีธร | |
dc.contributor.author | พิพัฒน์พล อัมพรเพ็ชร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:00:56Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:00:56Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8593 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของศูนย์ดํารงธรรมอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสํารวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชน ผู้มาใช้บริการ ณ ศูนย์ดํารงธรรมอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน ผู้มาใช้บริการ ณ ศูนย์ดํารงธรรมอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล โดยศึกษาจากประชาชนในเขตพื้นที่อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ที่มาใช้บริการศูนย์ดํารงธรรมอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี จํานวน 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม ผู้วิจัยทําการแจกและเก็บแบบสอบถามได้ครบทุกราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ t-Test และ One-way ANOVA เพื่อทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปร โดย กําหนดค่านัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และทําการทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 41 ปีขึ้นไป มีสถานภาพสมรส มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น/ตอนปลาย/ปวช. มีอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000-20,000 บาท และส่วนใหญ่มาติดต่อด้วยตัวเอง ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของศูนย์ดํารงธรรมอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาตามรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านระบบการให้บริการ รองลงมาคือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านระยะเวลาการรับบริการ ด้านการแก้ไขปัญหา ตามลําดับและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านอาคารสถานที่ สําหรับผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของศูนย์ดํารงธรรมอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี พบว่า ประชาชนที่มีการศึกษาและอาชีพแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของศูนย์ดํารงธรรม อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ อายุ สถานภาพการสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และช่องทางที่เคยติดต่อเพื่อร้องเรียนแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของศูนย์ดํารงธรรมอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ไม่แตกต่างกัน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม | |
dc.subject | ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดชลบุรี | |
dc.subject | ความพอใจของผู้ใช้บริการ | |
dc.title | ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของศูนย์ดำรงธรรม อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | The stisfction of people towrds services of dmrongdhm center, sirch district, chonburi province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The Research titled “The Satisfaction of People on Services of Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province” is a survey based research project with the following objectives: 1. To study the level of people’s satisfaction when visiting and using services at Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province; 2. To compare the satisfaction of people using services at Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province by classifying their satisfactions based on personal factors. 390 people who reside in Si Racha District, Chonburi Province and used services at Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province. Were surveyed. The tool used in this study is questionnaire which was distributed by the researcher. Statistics used for analysis include Frequency Distribution, Percentage, Mean and Standard Deviation. In the Hypothesis testing, T-test and One-way ANOVA were applied to test and compare the mean of the variables. The level of statistical significance was set at .05 and the difference was tested by Least Significant Difference (LSD). The result of the research found that most respondents were male aged 41 years and over, single, with an educational background in Junior High School Education/High School Education/Vocational Certificate Education, occupation of trading/personal business, and an average monthly income of15,000-20,000 Baht. The overview of people’s satisfaction level towards services of Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province was high. When considering each aspect, it was found that the highest mean was the service system, followed by the service officers, service duration, troubleshooting and building, respectively. The comparison of people's satisfaction towards services of Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province found that people with different educational backgrounds and occupations had different levels of satisfaction towards services of Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province at the level of statistical significance by .05, while people with different genders, ages, marital status, average monthly incomes and complaint channels had no different level of satisfaction towards services of Damrongdhama Center, Si Racha District, Chonburi Province at the level of statistical significance by .05 | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารงานยุติธรรมและสังคม | |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58920171.pdf | 1.63 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น