กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8589
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรัมภา ไวยมุกข์ | |
dc.contributor.author | ลลิตา สุทธิ์แทน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:00:56Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:00:56Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8589 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การที่กฎหมายบัญญัติยกเว้นโทษให้สามีและภริยาที่กระทําความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สินต่อกันเหตุผลประการหนึ่งเพราะการลงโทษไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและเพื่อความเป็นเอกภาพของสถาบันครอบครับอันเป็นหลักสากล เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายอาญาของต่างประเทศในเรื่องเดียวกัน พบว่า กฎหมายอาญาไทยมีขอบเขตที่กว้างขวางและให้การคุ้มครองการกระทําความผิดในความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยามากกว่าต่างประเทศ ผู้วิจัยเห็นว่าเป็นการบัญญัติเหตุยกเว้นโทษไว้มากเกินความเหมาะสมและด้วยเหตุนี้อาจเป็นช่องทางให้ผู้กระทําความผิดแสวงหาประโยชน์จากการเป็นสามีภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายฉ้อฉลหลอกลวงคู่สมรส ภายหลังทําการสมรสเพราะเหตุว่า กฎหมายยกเว้นโทษตามมาตรา 71 วรรคหนึ่งดังนั้นจึงไม่ควรยกเว้นโทษทางอาญาโดยสิ้นเชิงแต่เพื่อความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาและสถาบันครอบครัว กฎหมายควรแก้ไขจากเหตุยกเว้นโทษมาเป็นความผิดอันยอมความได้และอยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะลดหย่อนผ่อนโทษในลักษณะเดียวกับมาตรา 71 วรรคสอง กล่าวคือ เป็นการให้อิสระแก่ผู้เสียหายที่จะตัดสินใจว่าจะดําเนินคดีกับผู้กระทําความผิดหรือไม่ประการใด นอกจากนั้นคําว่า สามีภริยา ตามมาตรา 71 วรรคหนึ่ง ยังไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของชายและหญิงในสังคม เนื่องจากปัจจุบันอัตราการเพิ่มขึ้นของชายหญิงที่อยู่กินร่วมกันฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายมีมากขึ้น จึงเห็นว่ากฎหมายควรจะแก้ไข เพิ่มเติมโดยกําหนดขอบเขตของคําว่า “สามีภริยา”ตามมาตรา 71 วรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึง เฉพาะชายหญิงที่ยังอยู่กินฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรสเพื่อให้สอดคล้องกับสถานะและความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวหรือสถาบันครอบครัวตามสภาพของสังคมในยุคปัจจุบัน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | กฎหมายอาญา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.subject | ความผิดทางอาญา | |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายในการกำหนดเงื่อนไขการยกเว้นโทษในกรณีการกระทำความผิดอาญาตามมาตรา 71 วรรคหนึ่ง | |
dc.title.alternative | Legl mesures in stipulting the condition to excuse from the punishment: study of section 71 prgrph one | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The reasons why the law stipulates excuse in case where the offenses against property are committed by a husband against his wife, or by a wife against her husband are that the punishment brings about no advantage to the society as well as for the benefit of the family institution unity which is the universal principle. When comparing to the foreign penal code in the same matter, the researcher found that Thai penal code has the wide scope covering more types of offenses between the husband and wife than those in place in the foreign countries. The researcher considers that the excuse in thai criminal law is too broad and not appropriate because it may lead to the problem of seeking fraudulent benefit from being the lawful spouse after marriage according to section 71 paragraph one. Therefore, the researcher suggests that in this case the punishment should not be totally excused. However, regarding the relation between husband and wife including the family institution, the excuses in this matter should be replaced by compoundable offenses and empower the court to order penalty relief in the same matter as section 71 paragraph two which is to give a chance to the injured person whether to charge the offender or not. Moreover, the word “husband and wife” in section 71 paragraph one is not consistent with the living condition of men and women in the society due to the fact that currently the rate of men and women who cohabit as husband and wife without registering a marriage certificate is increasing. In consequence, the researcher suggests revising the law by specifying the scope of “husband and wife”according to section71 paragraph one to include men and women who cohabit as husband and wife without registering a marriage certificate in order to conform with the status and the relation of the family members or the family institution in the present time | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | กฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57920809.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น