กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8584
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประลอง ศิริภูล | |
dc.contributor.author | วีระยุทธ คำชัย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:00:55Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:00:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8584 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | จากการศึกษาปัญหาทางกฎหมายในการใช้อํานาจของพนักงานสอบสวนในการแสวงหาพยานหลักฐานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 131/1 พบว่า การใช้ดุลพินิจของพนักงานสอบสวนในการรวบรวมพยานหลักฐาน ซึ่งพนักงานสอบสวนมีดุลพินิจที่จะรวบรวม หรือไม่รวบรวมหลักฐานเข้าไว้ในสํานวนก็ได้ส่งผลให้การใช้ดุลยพินิจไม่รวบรวมพยานหลักฐาน ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าไปในสํานวนของพนักงานสอบสวน แม้ไม่ทําให้การสอบสวนไม่ชอบ แต่ก็ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้เสียหาย หรือผู้ต้องหาในคดีได้นอกจากนี้ปัญหาการที่ผู้ต้องหาและผู้เสียหายไม่ให้ความยินยอมในการตรวจพิสูจน์หลักฐาน พบว่าหากกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ได้ให้ความยินยอมหรือไม่ให้ความร่วมมือในการแสวงหาพยานหลักฐานจากร่างกาย ส่งผลให้จะต้องไปเป็นตามบทสันนิษฐานของกฎหมายตามที่ได้กําหนดไว้ ผู้วิจัยเห็นว่า อาจจะยังไม่เพียงพอเนื่องจากในการดําเนินคดีอาญานั้น พยานหลักฐานทางคดีเป็นสิ่งที่สําคัญและจําเป็นอย่างมากที่จะต้องนําไป ประกอบกับสํานวนการสอบสวน อีกทั้งในการพิจารณาคดีหากไม่มีความชัดเจนของพยานหลักฐานอาจส่งผลต่อการพิจารณาคดีของศาล ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 131 “พนักงานสอบสวนต้องรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิดที่เกี่ยวข้องกับคดี เพื่อประสงค์จะทราบข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ต่าง ๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูกกล่าวหาเพื่อจะรู้ตัวผู้กระทําผิด และพิสูจน์ให้เห็นความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหา” และเพิ่มเติมมาตรา 131/1 วรรคท้าย “หากการปฏิบัติตามวรรคแรก ไม่เป็นเหตุให้เกิดอันตรายหรือความเสียหายแก่ผู้ต้องหาหรือ ผู้เสียหายเจ้าพนักงานมีอํานาจกระทําได้โดยไม่จําต้องได้รับอนุญาตหรือรับความยินยอม” | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | กฎหมายอาญา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.subject | พนักงานสอบสวน | |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายในการใช้อำนาจของพนักงานสอบสวนในการแสวงหาพยานหลักฐานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 131 | |
dc.title.alternative | Legl problems on the exercise of power of inquiry offils for seeking evidences under the section 131/1 of criminl procedure code | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The studying of legal problems on the exercise of power of inquiry officials for seeking evidences under the Section 131/1 of Criminal Procedure Code found that on process of collecting evidences the inquiry officials could use their discretions to collect evidences in record not. This was effected to all related evidences were not collected in files of inquiry officials. Although, it was not illegitimate interrogation but it might cause some damages to victims or offenders. Moreover, another problem caused by those victims or offenders was no consents from them to investigate such evidences. It was found that if they did not grant their consents or cooperation for seeking evidences on their bodies, it would make such cases be in line with presumptions as prescribed by the laws. The researcher thought that it was no enough because witnesses and evidences were very important for criminal cases and needed to be collected in the inquiry file. Unclearness of evidences might be affected to proceedings in the court. The researcher had some suggestion as follow; the Section 131 of Criminal Procedure Code should be amended as “An inquiry official shall collect every kind of evidence that were related to each case for the purpose of ascertaining all facts and circumstances in respect of the offence alleged, identifying the offender and proving the guilt or innocence of the accused” and the last paragraph of Section 131/1 should also be amended as “If any action in the first paragraph causes some danger or damage to victims or offenders, the official shall have authority to do without any consent or permission”. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | กฎหมายและอาชญาวิทยา | |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
54921176.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น