กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8580
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประลอง ศิริภูล
dc.contributor.authorชัยรัตน์ อรุณวงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:00:54Z
dc.date.available2023-06-06T04:00:54Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8580
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractจากการศึกษาปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พบว่า พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 มาตรา 19 กําหนดเงื่อนไขของผู้เข้ารับการบําบัดฟื้นฟูนอกเหนือจากผู้เสพเพียงอย่างเดียว โดยรวมถึงผู้เสพที่มีไว้ในครอบครองเพื่อจําหน่าย หรือเสพและจําหน่ายยาเสพติดแม้ว่าจะครอบครองเพียงเล็กน้อยก็ตาม ผู้ศึกษาเห็นว่าขัดต่อเจตนารมณ์ของกฎหมายที่มุ่งหมายจะให้ประโยชน์เฉพาะผู้เสพเท่านั้น จากการศึกษากฎหมายของประสิงคโปร์จะกําหนดเงื่อนไขในส่วนฐานความผิดกฎหมายจะกําหนดไว้ค่อนข้างจํากัด นอกจากนี้มาตรา 33 วรรคแรกก็ไม่ได้บัญญัติส่วนการติดตามดูแลไว้ ทําให้กระบวนการบําบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดขาดหายไปไม่ครบขั้นตอน ผู้เสพที่กลับไปอยู่ในสภาวะแวดล้อมเดิมจึงมีความเสี่ยงที่จะเสพยาเสพติดสูง จะเห็นได้ว่ามาตรการติดตามดูแลเป็นสิ่งสําคัญและจําเป็นอย่างยิ่ง จากการศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกาได้กําหนดให้ศาลอาจสั่งให้ผู้เข้ารับการบําบัดเข้ารักษาตัวอยู่ในความควบคุมดูแลของผู้อํานวยการโรงพยาบาลในระยะเวลา 3 ปีหลังจากที่ออกจากโรงพยาบาลแล้วจึงควรกําหนดเกี่ยวกับกระบวนการติดตามดูแลหลังจากผู้บําบัดได้รับการปล่อยตัวต่อไป ข้อเสนอแนะ ควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 มาตรา 19 ดังนี้ “ผู้ใดต้องหาว่ากระทําความผิดฐานเสพยาเสพติดเสพและมีไว้ในครอบครองตามลักษณะชนิด ประเภท และปริมาณที่กําหนดในกฎกระทรวง…”และเพิ่มเติม มาตรา 33/1 ดังนี้ “ศาลอาจสั่งให้ผู้ได้รับการปล่อยตัวตามมาตรา 33 อยู่ในความควบคุมดูแลของ เจ้าหน้าที่คุมความประพฤติในระยะเวลา 3 ปีหลังจากได้รับการปล่อยตัว”
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.subjectกฎหมายยาเสพติด
dc.subjectคนติดยาเสพติด -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
dc.title.alternativeLegl problems on nrcotic ddict rehbilittion
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeAfter studying of legal problems on narcotic addict rehabilitation, it was found that the Section 19 of Narcotic Addict Rehabilitation Act B.E.2545 (2002) was not prescribed only persons who consumed narcotics to receive the rehabilitation but also included those who had in possession for the purpose of disposal or consumed and disposed the narcotics although in a little quantity. The researcher was deemed that it was contrary to the will of law intended to rehabilitate only for the narcotic addicts. Studying of Singaporean laws found that it was quite less prescribed on the condition of legal offences. Moreover, the first paragraph of Section 33 was not prescribed on monitoring that made incomplete process of narcotic addict rehabilitation. The narcotic addicts who were backed to their previous environment shall be in high risk of narcotic reconsumption; monitoring measures were, therefore, the most important matter. In USA, courts might issue an order the narcotics, who received the rehabilitation, had to be under the monitoring of hospital’s director for 3 years after the date of their leavings. Hence, it should be prescribed some processes on monitoring after the releasing of those rehabilitated narcotic addicts. Suggestions - the Section 19 of Narcotic Addict Rehabilitation Act B.E.2545 (2002) should be amended as follow “Any persons who is alleged to consume the narcotics, consume and have in possession the narcotics which character, type, category and quantity prescribed in the Ministerial Regulation” and amended the Section of 33/1 as “the court may issue an order the released persons under the Section 33 for being under the monitoring of probation officers for 3 years after the date of their releasing”
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายและอาชญาวิทยา
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
54921121.pdf1.19 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น