กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8558
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาติ เถาทอง | |
dc.contributor.advisor | บุญชู บุญลิขิตศิริ | |
dc.contributor.author | รุ่งนภา จะนันท์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:54:32Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:54:32Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8558 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง ราชมรรคา: การออกแบบสื่อประสมเพื่อการเรียนรู้อารยธรรมขอมในอีสานใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประวัติศาสตร์และศิลปกรรมทางอารยธรรมขอมจากโบราณสถานที่ปรากฏในเส้นทางราชมรรคาในเขตประเทศไทย วิเคราะห์รูปแบบสื่อประสมในการนําเสนอเนื้อหาประวัติศาสตร์และศิลปกรรมทางอารยธรรมขอม และออกแบบชุดความรู้ สื่อประสมทางอารยธรรมขอมสําหรับติดตั้งภายในห้องจัดแสดงนิทรรศการศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผลการวิเคราะห์ด้านเนื้อหาเส้นทางราชมรรคาโดยภาพรวมประกอบไปด้วยมิติเชิงทรัพยากร มิติเชิงสังคม และมิติเชิงสัญญะรูปแบบศิลปกรรมขอมที่พบจากโบราณสถานตามเส้นทางราชมรรคาในเขตประเทศไทย แสดงออกมาในลักษณะเชิงสัญญะที่มีความเป็น “สห” หรือ ลักษณะร่วม ประกอบไปด้วย 4 มิติ คือ เรื่องเล่า วรรณคดี ความเชื่อ และศาสนา เมื่อนําความหมายในการสื่อสัญญะเหล่านั้นมาวิเคราะห์ทางการแสดงออกควบคู่กับหลักการทัศนศิลป์ จึงเป็นที่มาของการออกแบบสื่อประสมด้วยแนวคิด “สหสัญลักษณ์” ผลการศึกษาด้านรูปแบบที่เหมาะสมของสื่อประสมกับเนื้อหาใน 6 หัวข้อ ได้แก่ (1) ด้านลักษณะทางกายภาพเป็นการแสดงออกถึงโครงสร้างองค์ประกอบของเส้นทาง มีความเหมาะสมกับสื่อประสมในรูปแบบสัญลักษณ์และ แผนที่ด้วยการแสดงทัศนียภาพโดยรวม (2) ด้านประวัติศาสตร์เป็นการแสดงถึงการถ่ายทอดเรื่องราว ได้รูปแบบที่เหมาะสมคือการนําเสนอด้วยสื่อกราฟิกประกอบภาพเคลื่อนไหวควบคู่กับเสียงบรรยาย (3) ด้านแผนผังสถาปัตยกรรมแสดงออกถึงจินตนาการได้รูปแบบที่เหมาะสม คือ การใช้ภาพกราฟิกผสมกับการจัดวางตําแหน่งด้วยแผนผังในลักษณะ 2 มิติ พร้อมตัวอักษร (4) ด้านลวดลายเครื่องประดับ แสดงออกถึงรูปทรงที่สวยงาม ได้รูปแบบที่เหมาะสมคือการฉายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวควบคู่กับเสียงบรรยาย (5) ด้านภาพจําหลักเล่าเรื่องเป็นการแสดงออกถึงอารมณ์ได้รูปแบบที่เหมาะสมคือการนําเสนอด้วยภาพลายเส้นประกอบอนิเมชัน (6) ด้านประติมากรรม แสดงออกถึงการเลียนแบบ ได้รูปแบบที่เหมาะสมคือการนําเสนอด้วยลักษณะหุ่นจําลองเสมือน ร่วมกับตัวอักษร เมื่อได้รูปแบบสื่อประสมทั้งหมดแล้วจึงนํามาออกแบบเป็นชุดความรู้สื่อประสม เพื่อจัดวางภายในห้องนิทรรศการศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สื่อ -- การออกแบบ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | อารยธรรม | |
dc.title | ราชมรรคา : การออกแบบสื่อประสมเพื่อการเรียนรู้อารยธรรมขอมในอีสานใต้ | |
dc.title.alternative | Royl rod: designing multimedi for lerning of cmbodin heritge in south isn | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to analyse the history and arts of Cambodian heritage from ancient remains along royal road appeared in Thailand, 2) to analyse multimedia types used to present the history and arts of Cambodian heritage, and 3) to design a multimedia knowledge package for learning Cambodian heritage to display in exhibition room at South I-san Cultural Centre. The findings revealed that the content analysis on the royal road in overall consisted of resource dimension, social dimension, and symbol dimension. Cambodian arts were found in the ancient remains along the royal road depicted in symbols which comprised four dimensions: chronicle, literature, beliefs, and religions. When all symbols were analysed with Visual Arts principles, theycaused the ideas of multimedia designing, multi symbols. The findings on multimedia types that were suitable for six aspects were as follows: 1) The aspect of physical features depictingstructures and routes suited multimedia types on symbols and maps which showed locations, 2) the aspect of history depicting narration suited graphic and animation presentation along with audio description, 3) the aspect of architectural diagrams depicting imagination suited graphic using together with two dimensions of location setting with alphabets, 4) the aspect of decorative patterns depicting the beautiful shapes suited still pictures and animation presentation, 5) the aspect of narrative illustration expressing emotion suited strip images and animation presentation, and 6) the aspect of sculpture showing imitation suited replica with alphabets presentation. When all multimedia types were created, they were then displayed as a multimedia knowledge package in the exhibition room at South I-san Cultural Centre. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
55810063.pdf | 433.1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น