กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8548
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มนัส แก้วบูชา | |
dc.contributor.advisor | ภรดี พันธุภากร | |
dc.contributor.author | ณัฏฐวุธ นุราช | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:53:59Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:53:59Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8548 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาเพลงบอกทรงเครื่องแห่งเมืองนครของสมใจ ศรีอู่ทอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชีวประวัติและผลงานของสมใจ ศรีอู่ทอง แนวความคิดในการพัฒนาเพลงบอกสู่เพลงบอกทรงเครื่อง วิธีการละเล่นอย่างละเอียด รวมทั้งภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมในวรรณกรรม เพลงบอกทรงเครื่องที่เกี่ยวเนื่องกับเมืองนครศรีธรรมราชในการศึกษาผู้วิจัยใช้ข้อมูลวรรณกรรมของเพลงบอกสมใจ ศรีอู่ทอง จากสมุดบันทึก แถบบันทึกเสียง และจากการสัมภาษณ์เพลงบอก สมใจ ศรีอู่ทองและผู้ใกล้ชิด แล้วนําข้อมูลมาวิเคราะห์ตามขอบเขตของเนื้อหาสรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้ นายสมใจ อู่ทอง เป็นชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช เคยเป็นอดีตนายหนังตะลุง แต่ด้วยเหตุปัจจัยหลายอย่างจึงหันมาสมใจการละเล่นเพลงบอก โดยฝากตัวเป็นศิษย์ของเพลงบอกสังข์ บางพร้าว จนสามารถตั้งคณะเพลงบอกของตัวเองได้ นําตัวเองเข้าแข่งขันเพื่อพิสูจน์ความสามารถตน ได้รับรางวัลและเกียรติยศมากมายใช้เพลงบอกในการบริการสังคมตลอดมา ต่อมาได้คิดเพลงบอกทรงเครื่องขึ้น โดยการนําเครื่องดนตรีหลาย ๆ ชิ้นเข้าไปประกอบการละเล่น ได้แก่ ฉิ่ง รํามะนา ฆ้องโหม่ง และลูกแกร๊ก วรรณกรรมที่ปรากฎในเพลงบอกทรงเครื่องมันมีการกล่าว เกี่ยวข้องกับ ประเพณี วันสําคัญบุคลสําคัญ สถานที่ท่องเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับเมืองนครศรีธรรมราช | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | เพลงบอก | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม | |
dc.title | การศึกษาเพลงบอกทรงเครื่องแห่งเมืองนคร สมใจ ศรีอู่ทอง | |
dc.title.alternative | Lerning the pleng bok song krung of nkhon si thmmrt by somji sri u-thong | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The study of Pleng Bok Song Kruang of Nakhonsithammarat by Somjai Sri au-thong aimedto study the biography and works of Somjai Sri au-thong, the concept of developing Pleng Bok to Pleng Bok Song Kruang, method to play the instrument carefully and Cultural reflections in literature of Pleng Bok Song Kruang about Nakhonsithammarat. In the study the researcher usedPleng Bok Song Kruang literary data from notebooks that recorded that type of literature, tapes, videotapes, and interviews of informants and those familiar with the form of literature. The data were recorded on data-recording sheets and analyzed by the scope of content. The results of this research were summarized as follows. Somjai Sri au-thong used to be a shadow player but he interested in Pleng Bok because of many factors. He was a disciple of Pleang Bok Sang Babgphraow until he can form Pleng Bok band by himself. He takes himself to the competition to prove his abilities. There are many awards that he receives. He had been using music in social service throughout. Later, he brought the instrument into Pleng Bok Song Kruang playing such as one-sided drum with shallow body, gong, small cup-shaped cymbals, and maracas. The literature in Pleng Bok Song Kruang usually talked about the tradition, important dates, important personnel, the attractions of Nakhon Si Thammarat. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม | |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
55920504.pdf | 66.42 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น