กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8543
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาติ เถาทอง | |
dc.contributor.advisor | โกสุม สายใจ | |
dc.contributor.author | เจียมจันทร์ จันทร์คงหอม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:53:51Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:53:51Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8543 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | ดุษฎีนิพนธ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ปรากฏการณ์ของทะเลสาบสงขลาในมุมมองทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และมุมมองทางศิลปะในขอบข่ายงานจิตรกรรม และนำผลการวิเคราะห์ ประกอบด้วยปัจจัยด้านมิติธรรมชาติ มิติมนุษย์ และมิติวัฒนธรรม ที่ส่งผลถึงการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมจากผลงานจิตรกรรมตะวันตก และตะวันออก มาสังเคราะห์เป็นข้อมูล เพื่อสร้างสรรค์ผลงานภาพจิตรกรรม สะท้อนอัตลักษณ์วัฒนธรรมทางการเห็น ผลการวิจัยพบว่า 1. ปรากฏการณ์ของทะเลสาบสงขลาในมุมมองทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม มีลักษณะ วัฒนธรรม 3 ลุ่มน้ำ คือ ส่วนตอนบนเป็นน้ำจืด ตอนกลางเป็นน้ำกร่อย และตอนล่างเป็นน้ำเค็ม ซึ่งเป็นผลพวงมาจาก นิเวศสิ่งแวดล้อม ที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์ในรูปแบบพหุศิลปวัฒนธรรม 2. ปัจจัยด้านมิติธรรมชาติ มิติมนุษย์ และมิติวัฒนธรรม ได้ส่งผลต่อการสร้างสรรค์งานจิตรกรรม ทั้งตะวันตก และตะวันออก โดย 3 มิติดังกล่าว แสดงถึงเนื้อหาสาระในภาพจิตรกรรม 3. การสังเคราะห์ข้อมูลแสดงถึงแบบอย่างทางศิลปะมาจาก 2 แนวทาง แนวทางแรกเป็นแบบภววิสัยในแบบอย่างธรรมชาตินิยม โดยภาพแสดงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีอิทธิพล อยู่เหนือมิติมนุษย์ มิติวัฒนธรรม และแบบอย่างสัจนิยม ที่มีมิติมนุษย์เป็นผู้สร้างวัฒนธรรมภายใต้มิติธรรมชาติ แนวทางถัดมาเป็นแบบอัตวิสัย ในแบบอย่างจินตนิยม ภาพจิตรกรรมมีการสื่อสาร อารมณ์ พลังของปรากฏการณ์ธรรมชาติ และแบบอย่างอุดมคตินิยมกับแบบอย่างประเพณีพื้นถิ่น ภาคใต้ นิยมสร้าง รูปแบบความงามที่มีความดีและศีลธรรมเป็นเป้าหมาย ผู้วิจัยนำผลการสังเคราะห์ข้อมูลมาสร้างองค์ความรู้ด้วยการปฏิบัติสร้างสรรค์ ทดลองขยับ ปรับเปลี่ยน ผสมผสาน และการแก้ไขปัญหาของรูปความหมายทางสุนทรียะ เพื่อแสดงอัตลักษณ์ วัฒนธรรมทางการเห็นในบริบทใหม่ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | การถ่ายภาพธรรมชาติ | |
dc.subject | ทะเลสาบสงขลา -- แง่สิ่งแวดล้อม | |
dc.subject | ทะเลสาบสงขลา | |
dc.title | ปรากฎการณ์ธรรมชาติทะเลสาบสงขลา : ภาพสะท้อนอัตลักษณ์วัฒนธรรมทางการเห็น | |
dc.title.alternative | Nturl phenomenon of songkhl lke : reflective chrcteristic of visul culture | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This dissertation aims to study and analyze natural phenomenon of Songkhla Lake in the perspective of nature, environment and arts within fine arts matters including synth sizing the analyzed results from natural, human and cultural dimensions having an effect on the painting creation in the west and east to form the information of the painting creation and reflect the identity of visual culture. The findings of the study are as follows: 1. The natural perspective of Songkhla Lake’s phenomenon from the upper, middle, and lower watersheds had three cultural characteristics, namely, freshwater, brackish water, and sea water. This consequence came from ecological environment influencing people’s mindset on the multicultural arts. 2. The factors of natural, human, and cultural dimensions had an effect on the creation of western and eastern arts expressing the contents of the paintings. 3. The synthesis of style information consisted of two concepts: Objectivism and Subjectivism. First, the Objectivism consisted of Naturalism that expressed the natural phenomenon over human, culture, and Realism that human created under natural dimension. Secondly, the Subjectivism consisted of Romanticism showing the paintings with emotions, natural phenomenon’s power, and Idealism and Conventionalism focusing on the virtue and moral standard. The results were, then, synthesized to create the holistic knowledge by creative practice, adaptive experiment, enhancement, and problem solving of aesthetic meanings so as to represent the cultural characteristic in a new context. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
54810091.pdf | 7.32 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น