กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8524
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภูวษา เรืองชีวิน
dc.contributor.advisorมนัส แก้วบูชา
dc.contributor.authorกฤษณะ สโมสร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T03:49:23Z
dc.date.available2023-06-06T03:49:23Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8524
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม: วัดเกาะหลัก พระอารามหลวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทและความสัมพันธ์กับชุมชนในด้านต่าง ๆ ของวัด และเจ้าอาวาส ศึกษาที่มาการสื่อความหมายและคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม และนําเสนอแนะ แนวทางในการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม วัดเกาะหลัก พระอารามหลวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การวิจัยได้รวบรวมและจัดเรียงเรียบข้อมูลด้วยการวิเคราะห์จากแนวคิดและทฤษฏีด้านการจัดการมรดกวัฒนธรรม ผลการศึกษาได้วิเคราะห์บทบาทวัด เจ้าอาวาสกับชุมชน การสื่อความหมายและคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม และการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม วัดเกาะหลัก พระอารามหลวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับชุมชนที่มีความเกื้อกูลกัน วัดเกาะหลักไม่ใช้เป็นเพียงศาสนสถานที่ประกอบพิธีทางด้านพุทธศาสนา แต่เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ผนวกเอาความคิด คติ ความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์ และความเชื่อทางด้านพระพุทธศาสนา ถ่ายทอดผ่านงานด้านประติมากรรม สถาปัตยกรรม และจิตกรรมในการศึกษาจึงได้วิเคราะห์และจัดระบบความรู้ ซึ่งประกอบไปด้วย องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม และความหมายทางโหราศาสตร์ และดําเนินการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมตามแนวทางการจัดการมรดกทาง วัฒนธรรมของกรมศิลปากร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การจัดการข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรม และการจัดการด้านการบริการ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวัฒนธรรม
dc.subjectทรัพยากรทางวัฒนธรรม
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.titleการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม : วัดเกาะหลัก พระอารามหลวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
dc.title.alternativeCulturl heritge mngement on wt koh lk the royl temple, prchup khirikn province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe study of cultural heritage managementofWat Koh Lak, the royal temple, at Prachuab Khirikan province aims to investigate the role and relationship with the community, the meaning and value of cultural heritage and the suggestions in cultural management of Wat Koh Lak. The study reveals that the royal temple and the community have the relationship in the positive way that supports each other. The temple is not only the religious place for doing the ritual ceremonies, but alsothe place for learning Buddhist moral with the belief of Thai astrology through the work of arts. The study had analyzedthe knowledge which consistsof architecture composition and the meaning of Thai astrology and also managed the cultural heritage follows the cultural heritage management protocol of Department of Fine Arts, which were separated into two parts: the cultural heritage management and the service management.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
56920653.pdf245.98 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น